Big Questions :
1. มรสุมสื่อรุมเร้าเข้ามารอบกายจะทำอย่างไรให้นักเรียนมีวิจารณญาณในการบริโภคสื่อ
2. เราจะผลิตสื่อสร้างสรรค์อย่างไรให้ทุกคนเกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง
1. มรสุมสื่อรุมเร้าเข้ามารอบกายจะทำอย่างไรให้นักเรียนมีวิจารณญาณในการบริโภคสื่อ
2. เราจะผลิตสื่อสร้างสรรค์อย่างไรให้ทุกคนเกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง
ภูมิหลังของปัญหา:
เทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อต่างๆสามารถเข้าถึงเด็กและเยาวชนได้อย่างรวดเร็วและหลากหลายช่องทาง ซึ่งสื่อดังกล่าวมีทั้งสื่อที่เป็นข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็น มีทั้งส่วนที่เป็นโฆษณาชวนเชื่อในรูปแบบต่างๆ และสื่อต่างๆดังกล่าวมีอิทธิพลต่อเด็กและเยาวชน อย่างไม่มีทางหลีกเลี่ยง การปิดกั้นเพื่อไม่ให้เด็กและเยาวชนเข้าถึงสื่อ อาจไม่ใช่ทางออกที่แท้จริง แต่การให้เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้ เข้าใจ รู้เท่าทันสื่อต่างๆ รวมทั้งสามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ และมีวิจารณญาณได้ด้วยตนเอง จะเป็นทางออกที่แท้จริง ดังนั้นเพื่อให้เกิดการเรียนรู้และเข้าใจปัญหาดังกล่าว รวมทั้งให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในผลิตสื่อสร้างสรรค์ที่เหมาะสมและใช้สื่ออย่างสร้างสรรค์ รู้เท่าทันและมีวิจารณญาณในการใช้ข้อมูลข่าวสารจากเทคโนโลยีสารสนเทศผ่านช่องทางที่หลากหลาย ดังนั้นพี่ๆ ชั้น ป.6 จึงสนใจที่จะเรียนรู้ หน่วยสื่อและหนังสั้น ใน Quarter 4/2557
เทคโนโลยีสารสนเทศและสื่อต่างๆสามารถเข้าถึงเด็กและเยาวชนได้อย่างรวดเร็วและหลากหลายช่องทาง ซึ่งสื่อดังกล่าวมีทั้งสื่อที่เป็นข้อเท็จจริง และข้อคิดเห็น มีทั้งส่วนที่เป็นโฆษณาชวนเชื่อในรูปแบบต่างๆ และสื่อต่างๆดังกล่าวมีอิทธิพลต่อเด็กและเยาวชน อย่างไม่มีทางหลีกเลี่ยง การปิดกั้นเพื่อไม่ให้เด็กและเยาวชนเข้าถึงสื่อ อาจไม่ใช่ทางออกที่แท้จริง แต่การให้เด็กและเยาวชนได้เรียนรู้ เข้าใจ รู้เท่าทันสื่อต่างๆ รวมทั้งสามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ และมีวิจารณญาณได้ด้วยตนเอง จะเป็นทางออกที่แท้จริง ดังนั้นเพื่อให้เกิดการเรียนรู้และเข้าใจปัญหาดังกล่าว รวมทั้งให้นักเรียนได้มีส่วนร่วมในผลิตสื่อสร้างสรรค์ที่เหมาะสมและใช้สื่ออย่างสร้างสรรค์ รู้เท่าทันและมีวิจารณญาณในการใช้ข้อมูลข่าวสารจากเทคโนโลยีสารสนเทศผ่านช่องทางที่หลากหลาย ดังนั้นพี่ๆ ชั้น ป.6 จึงสนใจที่จะเรียนรู้ หน่วยสื่อและหนังสั้น ใน Quarter 4/2557
เป้าหมาย (Understanding Goals)
:
1. เข้าใจและสามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ เลือกบริโภคสื่อต่างๆ ได้อย่างมีวิจารณญาณ
2. เข้าใจกระบวนการสร้างหนังสั้นและสามารถออกแบบวางแผนสร้างหนังสั้นที่มีคุณค่าต่อตนเองและสังคมได้อย่างสร้างสรรค์
1. เข้าใจและสามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ เลือกบริโภคสื่อต่างๆ ได้อย่างมีวิจารณญาณ
2. เข้าใจกระบวนการสร้างหนังสั้นและสามารถออกแบบวางแผนสร้างหนังสั้นที่มีคุณค่าต่อตนเองและสังคมได้อย่างสร้างสรรค์
ปฏิทินการเรียนรู้แบบบูรณาการ PBL (Problem
Based Learning)
หน่วย : สร้างหนังสั้นรู้ทันสื่อ
(Short Movie Indy ไทบ้าน)
ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 Quarter
4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา
2557
เป้าหมายรายสัปดาห์ที่
1 : สามารถวิเคราะห์และให้เหตุผลสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้อย่างสร้างสรรค์
Week
|
Input
|
Process
|
Out put
|
Outcome
|
1
12-16
ม.ค.
2558
|
โจทย์ : สิ่งที่อยากเรียนรู้
Key Questions
:
นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไร ทำไมอยากเรียนเรื่องนี้
เครื่องมือคิด
Round Robin : ความรู้สึกหลังจากได้ดูคลิปหนังสั้น
Black board Share : แลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกัน และตั้งชื่อหน่วย
Think Pair Share : เพื่อเลือกเรื่องที่อยากเรียนรู้
Wall Thinking : ติดชิ้นงาน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู
- นักเรียน
สื่อแหล่งเรียนรู้
- คลิปหนังสั้นเรื่อง รักเก่าที่บ้านเกิด บันทึกควรดี และโตไปไม่โกง ตอน
เช่น กิมจู สัมพันธภาพ แบงค์ปลอม สุนัขหาย แปะเจี๊ยะ
- เรื่องเล่าช่วงปิดเรียน
- บรรยากาศในชั้นเรียน
|
-
ครูและนักเรียนร่วมทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ใน Quarter ที่ผ่านมา
- ดูคลิปและหนังสั้นเรื่อง รักเก่าที่บ้านเกิด บันทึกควรดี และโตไปไม่โกง
-
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนเห็นอะไรบ้างจากการดูการฟัง รู้สึกอย่างไรบ้าง
และคิดเห็นอย่างไร
-
ครูและนักเรียนอภิปรายและสนทนาเกี่ยวกับสิ่งที่ได้ดู
- ครูกระตุ้นการคิดด้วยคำถาม “นักเรียนอยากเรียนรู้เรื่องอะไร
และทำไมอยากเรียนรู้เรื่องนั้นและนักเรียนจะตั้งชื่อหน่วยว่าอะไรจึงจะน่าสนใจ
และมีความสอดคล้องกับสิ่งที่จะได้เรียนรู้ใน Quarter 4
- นักเรียนเลือกหัวข้อที่อยากเรียนรู้ผ่านเครื่องมือคิด
Think Pair
Share
- ครูให้นักเรียนตั้งชื่อหน่วยการเรียนรู้ใน Quarter 4 ผ่านเครื่องมือคิด Blackboard Share
โดยมีโจทย์คือ
สั้น สื่อความหมาย เข้าใจง่ายและครอบคลุม
สามารถสื่อหรือสอดคล้องกับเรื่องที่เรียน
- นักเรียนตั้งชื่อหน่วยบูรณาการผ่านเครื่องมือคิด
Blackboard Share
-
นักเรียนร่วมตอบคำถามและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นผ่านเครื่องมือคิด
Round Robin
เกี่ยวกับสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
- ครูแจกกระดาษ A4 คนละ
1 แผ่นเพื่อให้นักเรียนเขียนสิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้ใน
Quarter 4
- ครูให้นักเรียนเขียนสรุปความรู้ความเข้าใจก่อนการเรียนรู้ผ่านเครื่องมือคิด
Mind Mapping
- ครูและนักเรียนแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้และทบทวนตลอดทั้งสัปดาห์
- นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 1
|
ภาระงาน
- การเลือกหน่วยที่อยากเรียนรู้และตั้งชื่อหน่วย
- การคิดวิเคราะห์และตอบคำถามสิ่งที่ได้ฟัง
- การสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้และแสดงความคิดเห็น
ชิ้นงาน
- สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการดูคลิปและหนังสั้น
- ชื่อหน่วยที่อยากเรียนรู้ใน Quarter 4
- สิ่งที่รู้แล้วและสิ่งที่อยากเรียนรู้
- Mind Mapping ก่อนเรียน
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 1
|
ความรู้ : สามารถวิเคราะห์และให้เหตุผลสิ่งที่อยากเรียนรู้ได้อย่างสร้างสรรค์
ทักษะ : ทักษะชีวิต - ทำชิ้นงานและจัดมุมต่างๆตกแต่งห้องเรียนได้ตามความถนัด
- ออกแบบและวางแผนการทำงานได้อย่างเป็นขั้นตอน
- เลือกใช้วัสดุ/อุปกรณ์ในการทำงานได้คุ้มค่า
ทักษะการคิดสร้างสรรค์ - สามารถคิดเชื่อมโยงเรื่องที่ศึกษากับชีวิตประจำวันของตนเองได้
- สามารถสังเคราะห์ข้อมูลปฏิทินที่แต่ละกลุ่มทำรวมเป็นปฏิทินห้องได้
- คิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่มได้ ทักษะการสื่อสาร อธิบายสิ่งที่ตนเอง/กลุ่มอยากเรียนรู้ได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
ทักษะการจัดการข้อมูล
- ลำดับขั้นตอนการทำงานก่อนหลังได้อย่างเหมาะสม
-
คิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาจากการเลือกหน่วยที่อยากเรียนรู้และการตั้งชื่อหน่วยให้น่าสนใจและเพื่อนทุกคนเห็นด้วยได้อย่างเหมาสม
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทำงานเป็นกลุ่มและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นในการเลือกหน่วยที่อยากเรียนรู้ได้
- มีจิตอาสาในการเตรียมและเก็บอุปกรณ์หลังการทำงานของเพื่อนๆ
ในแต่ละกลุ่ม
คุณลักษณะ : - มีความพยายามในการสร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง
- คารพสิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ
- สามารถปรับตัวยึดหยุ่นและร่วมงานกับเพื่อนๆได้
|
เป้าหมายรายสัปดาห์ที่ 2 : สามารถออกแบบวางแผนการเรียนรู้
และการทำงานตามความความสนใจได้อย่างเป็นขั้นตอน
Week
|
Input
|
Process
|
Out put
|
Outcome
|
2
19-23
ม.ค.
2558
|
โจทย์ : วางแผนการเรียนรู้
Key Questions
:
- นักเรียนจะวางแผนการเรียนรู้อย่างไรให้น่าสนใจและเกิดการเรียนรู้?
- สื่อข้อมูลข่าวสารที่ได้รับมีความน่าเชื่อถือได้มากน้อยเพียงใด
มีผลอย่างไรบ้าง และมีแนวทางแก้ไขหรือข้อเสนอแนะอย่างไร
เครื่องมือคิด
Blackboard Share :
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการวางแผนการเรียนรู้
เรียงลำดับหัวข้อก่อนและหลัง
Round Robin : แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการออกแบบปฏิทิน
Show and Share: นำเสนอชิ้นงาน
Wall Thinking : ติดชิ้นงานปฏิทิน
Quarter 4 และ
วิเคราะห์ข่าว
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู
- นักเรียน
สื่อแหล่งเรียนรู้
ข่าวที่น่าสนใจ
เช่น
1. รักผ่านอินเทอร์เน็ต
2. แฉธุรกิจหารายได้พิเศษ
3. อันตรายจากเนื้อย่าง
4. รู้ให้ทันดอกเบี้ยโหด
5. ผลกระทบของสื่อต่อเด็ก
|
-
ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนจะวางแผนการเรียนรู้อย่างไรให้น่าสนใจและเกิดการเรียนรู้
-
นักเรียนแต่ละคนแสดงความคิดเห็น
-
ครูให้นักเรียนจับคู่เพื่อดูและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการวางแผนการเรียนรู้
ตลอดทั้ง 9 สัปดาห์
-
นักเรียนแต่ละคู่ได้ข้อสรุปร่วมกันและให้แต่ละคู่รวมกลุ่ม 3
คู่ (กลุ่มละ 6 คน)เพื่อดูและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับการวางแผนการเรียนรู้ ตลอดทั้ง
9 สัปดาห์อีกครั้ง
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอ ปฏิทินการเรียนรู้ตลอดทั้ง 9 สัปดาห์ และหลอมรวมปฏิทินการเรียนรู้ทั้ง 9 สัปดาห์
ผ่านเครื่องมือคิด Black board Share
-
ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนเป็น
5
กลุ่ม แต่ละกลุ่มนำปฏิทินที่หลอมรวมแล้ว 9 สัปดาห์มาเขียนลงแผ่นชาร์ตกระดาษ 80 ปอนด์
ติดไว้ในชั้นเรียนเพื่อให้ง่ายต่อการดูแผนการเรียนรู้ในแต่ละสัปดาห์
-
ครูแบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม และนำข่าวเกี่ยวกับประเด็นต่างๆมาให้นักเรียนวิเคราะห์
-
นักเรียนแต่ละกลุ่มนำเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
- ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้งสัปดาห์
- นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 2
|
ภาระงาน
- ออกแบบและวางแผนการเรียนรู้ผ่านการทำปฏิทิน 9
สัปดาห์และนำเสนอปฏิทินการเรียนรู้
-
ระดมความคิดเพื่อวิเคราะห์ข่าว
ชิ้นงาน
- ปฏิทินการเรียนรู้ตลอดทั้ง Quarter 4
-
วิเคราะห์ข่าว
- สรุปการเรียนรู้สัปดาห์ที่ 2
|
ความรู้ : สามารถออกแบบวางแผนการเรียนรู้
และการทำงานตามความความสนใจได้อย่างเป็นขั้นตอน
ทักษะ : ทักษะชีวิต
- สร้างสรรค์ชิ้นงานสำหรับออกแบบการเรียนรัตลอดทั้ง
9 สัปดาห์ได้อย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับเวลา
- ออกแบบและวางแผนการทำงานทั้งการทำปฏิทินสำหรับการเรียนรู้ Quarter 4และการวิเคราะห์ข่าวได้อย่างเป็นขั้นตอน
- เลือกใช้วัสดุ/อุปกรณ์ในการทำงานได้คุ้มค่า
ทักษะการคิดสร้างสรรค์ - สามารถคิดเชื่อมโยงเรื่องที่ศึกษากับชีวิตประจำวันของตนเองได้
- สามารถสังเคราะห์ข้อมูลปฏิทินที่แต่ละกลุ่มทำรวมเป็นปฏิทินห้องได้
- คิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม ทักษะการสื่อสาร นำเสนอการวิเคราะห์ข่าวได้อย่างมีเหตุผลและน่าสนใจ
ทักษะการจัดการข้อมูล
- นำข้อมูลที่อ่านมาวิเคราะห์และจัดกระทำให้อยู่ในรูปที่ง่ายต่อความเข้าใจ
- คิดวิเคราะห์ข้อมูลข่าวสารที่ได้รับได้อย่างสร้างสรรค์
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทำงานเป็นกลุ่มและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นในการทำปฏิทินและวิเคราะห์ข่าว
- มีจิตอาสาในการเก็บอุปกรณ์หลังการทำงานสร้างปฏิทินและวิเคราะห์ข่าว
คุณลักษณะ : - คารพสิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นเกี่ยวกับข่าวที่วิเคราะห์อย่างไม่มีอคติ - สร้างสรรค์ชิ้นงานปฏิทินการเรียนและการวิเคราะห์ข่าวได้เต็มศักยภาพของตนเอง |
เป้าหมายรายสัปดาห์ที่ 3 : สามารถวิเคราะห์
สังเคราะห์ข่าวสารข้อมูลจากสื่อหรือโฆษณาผ่านช่องทางต่างๆได้อย่างมีวิจารณญาณและรู้เท่าทัน
Week
|
Input
|
Process
|
Out put
|
Outcome
|
3
26-30
ม.ค.
2558
|
โจทย์ : ปัญหาจากสื่อและโฆษณา
Key Questions
:
- สื่อ
หนังสั้นและโฆษณามีความเกี่ยวข้องกับนักเรียนอย่างไร
และนักเรียนจะรู้เท่าทันสื่อและโฆษณาเหล่านั้นอย่างไร
- ปัญหาจากการรับสื่อและโฆษณาที่ไม่เหมาะสมหรือบิดเบือนจะส่งผลต่อตัวนักเรียนและคนรอบข้างอย่างไร
เครื่องมือคิด
Jigsaw : ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับปัญหาจากสื่อหรือโฆษณาช่องทางต่างๆ
เช่น วิทยุ โทรทัศน์ สิ่งพิมพ์ และSocial Network
Round Robin : แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบจากการรับสื่อหรือโฆษณาประเภทต่างๆ เช่น สื่อวิทยุ โทรทัศน์ สิ่งพิมพ์ และSocial Network
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน
Wall Thinking : ติดชิ้นงานวิเคราะห์สื่อหรือโฆษณารูปแบบต่างๆ
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู
- นักเรียน
สื่อแหล่งเรียนรู้
- คลิปโฆษณาที่ดูเกินจริง
- อินเทอร์เน็ต
|
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“สื่อ หนังสั้นและโฆษณามีความเกี่ยวข้องกับนักเรียนอย่างไร
และนักเรียนจะรู้เท่าทันสื่อและโฆษณาเหล่านั้นอย่างไร”
-
ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นและอภิปรายเกี่ยวกับคำถามในขั้นชง
-
แบ่งนักเรียนออกเป็นกลุ่ม 6 กลุ่มจากนั้นครูนำข่าวสารจากสื่อรูปแบบต่างๆมาให้นักเรียนแต่ละกลุ่มอ่านและวิเคราะห์
สังเคราะห์ รวมทั้งประเมินความน่าเชื่อถือ(วิจารณญาณ)
- ครูกระตุ้นด้วยคำถามต่อ
“นักเรียนคิดว่า ปัญหาจากการรับสื่อและโฆษณาที่ไม่เหมาะสมหรือบิดเบือนจะส่งผลต่อตัวนักเรียนและคนรอบข้างอย่างไร
- ครูและนักเรียนอภิปรายและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันโดยใช้เครื่องมือคิด
Round Robin
- ครูแบ่งนักเรียนออกเป็น
4 กลุ่มและแต่ละกลุ่มค้นคว้าเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบจากการรับสื่อหรือโฆษณาประเภทต่างๆ
เช่น สื่อวิทยุ โทรทัศน์ สิ่งพิมพ์ และSocial Network
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำข้อมูลที่ได้มาจัดกระทำในรูปแบบที่น่าสนใจและนำเสนอต่อครูและเพื่อนร่วมชั้น
- นักเรียนทำชิ้นงานวิเคราะห์โฆษณาเกินจริงที่พบในชีวิตประจำวัน
-
ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิดเพื่อทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้งสัปดาห์
เช่น
สัปดาห์นี้นักเรียนได้เรียนรู้อะไรบ้าง รู้สึกอย่างไร เกิดปัญหาอะไรขึ้นบ้าง
และนักเรียนแก้ปัญหาต่างๆนั้นอย่างไร เป็นต้น
- ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้งสัปดาห์
- นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 3
|
ภาระงาน
- วิเคราะห์สื่อหรือโฆษณารูปแบบต่างๆ
- วิเคราะห์ สังเคราะห์ผลจากการรับสื่อและโฆษณาที่ไม่เหมาะสมหรือบิดเบือนที่จะส่งผลต่อตัวนักเรียนและคนรอบข้าง
ชิ้นงาน
- การวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลข่าวสารหรือจากสื่อโฆษณา
ประชาสัมพันธ์จากช่องทางต่างๆ
- นิทานหรือการ์ตูนช่องเกี่ยวกับการใช้สื่อและโฆษณา
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 3
|
ความรู้ : สามารถวิเคราะห์
สังเคราะห์ข่าวสารข้อมูลจากสื่อหรือโฆษณาผ่านช่องทางต่างๆได้อย่างมีวิจารณญาณและรู้เท่าทัน
ทักษะ : ทักษะชีวิต - สามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
- ออกแบบและวางแผนการทำงานได้อย่างเป็นขั้นตอน
- เลือกใช้วัสดุ/อุปกรณ์ในการทำงานได้คุ้มค่า
ทักษะการคิด - สามารถคิดเชื่อมโยงเรื่องที่ศึกษากับชีวิตประจำวันของตนเองได้
- สามารถคิดวิเคราะห์
สังเคราะห์ข่าวสารข้อมูลจากสื่อหรือโฆษณาผ่านช่องทางต่างๆได้อย่างมีวิจารณญาณ
- คิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่มอย่างยืดหยุ่น ทักษะการสื่อสาร พูดนำเสนอข้อมูลที่หาได้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆและนำเสนอจากการค้นคว้าเรื่องราวเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบจากการรับสื่อหรือโฆษณาประเภทต่างๆ เช่น สื่อวิทยุ โทรทัศน์ สิ่งพิมพ์ และ Social Network ได้อย่างน่าสนใจและสร้างสรรค์ คุณลักษณะ : - คารพสิทธิ หน้าที่ เห็นคุณค่าและเชื่อมโยงความคิดเห็นของตนเองและผู้อื่นอย่างไม่มีอคติ - สร้างสรรค์ชิ้นงานได้เต็มศักยภาพของตนเอง |
เป้าหมายรายสัปดาห์ที่ 4 : มีวิจารณญาณในการรับข้อมูลข่าวสารจากสื่อต่างๆที่เป็นข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสุขภาพ
อาหาร สารเคมี การดำเนินชีวิต ICT การประกอบการ เศรษฐศาสตร์ฯลฯ
สามารถนำข้อมูลที่ได้มาจัดกระทำในรูปแบบที่ง่ายต่อความเข้าใจและถ่ายทอดสู่ผู้อื่นได้อย่างน่าสนใจและสร้างสรรค์
ร่วมเข้าค่ายเรียนรู้เกี่ยวกับการทำสื่อและหนังสั้นร่วมกับผู้อื่น
ฝึกทักษะชีวิตและการอยู่ร่วมกันได้
Week
|
Input
|
Process
|
Out put
|
Outcome
|
4
2-6
ก.พ.
2558
|
โจทย์ : รู้เท่าทันสื่อและจัดกระทำข้อมูลในรูปแบบสื่อสร้างสรรค์
Key Questions
- นักเรียนคิดว่าข้อมูลข่าวสารหรือโฆษณาจากสื่อต่างๆมีความน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใด
?
- นักเรียนจะนำข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริงที่ได้มาจัดกระทำในรูปแบบที่ง่ายต่อความเข้าใจและถ่ายทอดสู่ผู้อื่นได้อย่างน่าสนใจและสร้างสรรค์ได้อย่างไร
?
เครื่องมือคิด
Jigsaw : ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับปัญหาจากสื่อหรือโฆษณาช่องทางต่างๆ
เช่น วิทยุ โทรทัศน์ สิ่งพิมพ์ และSocial Network
Round Robin : แสดงความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับปัญหาและผลกระทบจากการรับสื่อหรือโฆษณาประเภทต่างๆ เช่น สื่อวิทยุ โทรทัศน์ สิ่งพิมพ์ และSocial Network
Show and Share : นำเสนอชิ้นงาน
Wall Thinking : ติดชิ้นงานที่น่าสนใจ เช่น
คลิปรายการ แผ่นพับ โปสเตอร์โฆษณา ฯลฯ
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู
- นักเรียน
สื่อแหล่งเรียนรู้
- ข่าวต่างๆ
- คลิปโฆษณา “ซุปไก่สกัด”
- อินเทอร์เน็ต
|
- ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนคิดว่าข้อมูลข่าวสารหรือโฆษณาจากสื่อต่างๆที่เราได้รับมีความน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใด
?”
-
ครูและนักเรียนร่วมกันตอบคำถามและอภิปราย แสดงความคิดเห็นและให้เหตุผล เกี่ยวกับความน่าเชื่อถือของข้อมูลข่าวสารและสื่อต่างๆที่พบในชีวิตประจำวัน
- ครูนำคลิปโฆษณา
“ซุปไก่สกัด”มาให้นักเรียนดูและวิเคราะห์ร่วมกัน หลังจากนั้นครูเปิดคลิปข่าว “ความจริงกับประโยชน์ของซุปไก่สกัด”ให้นักเรียนดู
-
ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องซุปไก่สกัดและความคุ้มค่า
- ครูแบ่งนักเรียนออกเป็น
4 กลุ่ม
แต่ละกลุ่มค้นคว้าเกี่ยวกับข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริงและนำเสนอในรูปแบบที่แปลกใหม่
เช่นป้ายโฆษณา แผ่นพับ คลิปโฆษณา ฯลฯ
-
ครูใช้คำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนคิดว่าข้อมูลข่าวสารหรือโฆษณาจากสื่อต่างๆที่นักเรียนได้จากการค้นคว้ามีความน่าเชื่อถือมากน้อยเพียงใด
?”
-
ครูและนักเรียนร่วมกันตอบคำถามและอภิปราย
แสดงความคิดเห็นและให้เหตุผล เกี่ยวกับความน่าเชื่อถือของข้อมูลที่กลุ่มตนเองค้นคว้ามาจากแหล่งต่างๆ
เช่นหนังสือ วารสาร คลิปวีดีทัศน์ หนังสือพิมพ์ อินเทอร์เน็ต ฯลฯ
-
ครูกระตุ้นด้วยคำถาม “นักเรียนจะนำข้อมูลที่เป็นข้อเท็จจริงที่ได้มาจัดกระทำในรูปแบบที่ง่ายต่อความเข้าใจและถ่ายทอดสู่ผู้อื่นได้อย่างน่าสนใจและสร้างสรรค์ได้อย่างไร
?”
- นักเรียนแต่ละกลุ่มนำข้อมูลจากจากหัวข้อที่ได้รับมอบหมายศึกษาค้นคว้าและ
ผ่านการวิเคราะห์ สังเคราะห์ เพื่อใช้สำหรับต่อยอดในการผลิตสื่อที่เป็นข้อเท็จจริง
ผ่านชิ้นงานที่แปลกใหม่และน่าสนใจ เช่น คลิปรายการ แผ่นพับ โปสเตอร์โฆษณา ฯลฯ
-
นักเรียนเข้าค่ายเพื่อเรียนรู้เกี่ยวกับการทำสื่อสารคดีและหนังสั้น
รวมทั้งฝึกทักษะชีวิต ณ บ้านซับหินแก้ว ต.จันทึก อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา การเดินทางไป โดยรถไฟ ต่อรถสองแถว
การเดินทางกลับ รถตู้โรงเรียน ระหว่างวัน ที่ 5 - 7 กุมภาพันธ์ 2558
โดยมี ครูปรีดา ปัญญาจันทร์ เป็นวิทยากรบรรยายในหัวข้อ
การทำสื่อสารคดีและหนังสั้นอย่างสร้างสรรค์ และมีกิจกรรมที่หลากหลาย เช่น
เดินชมอาชีพและวิถีชีวิตของชาวบ้านซับหินแก้ว (เลี้ยงโคนม ทำเครื่องแบบทหาร
ทำไร่ละหุ่ง) กิจกรรมปีนเขา กิจกรรมเขียนบทสารคดี/หนังสั้น
กิจกรรมการแสดงรอบกองไฟ ฯลฯ
|
ภาระงาน
- การวิเคราะห์ สังเคราะห์ข้อมูลข่าวสารที่ตนเองสนใจหรือตามได้รับมอบหมาย
- การผลิตสื่อที่เป็นข้อเท็จจริงและการนำเสนออย่างสร้างสรรค์
ผ่านชิ้นงานที่แปลกใหม่และน่าสนใจ เช่น คลิปรายการ แผ่นพับ โปสเตอร์โฆษณา ฯลฯ
- การเข้าค่ายเรียนรู้การทำสื่อโฆษณาและหนังสั้น
ชิ้นงาน
- สื่อที่เป็นข้อเท็จจริงและการนำเสนออย่างสร้างสรรค์
ผ่านชิ้นงานที่แปลกใหม่และน่าสนใจ เช่น คลิปรายการ แผ่นพับ โปสเตอร์โฆษณา ฯลฯ
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการเข้าค่าย
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้ : มีวิจารณญาณในการรับข้อมูลข่าวสารจากสื่อต่างๆที่เป็นข้อเท็จจริงเกี่ยวกับสุขภาพ
อาหาร สารเคมี การดำเนินชีวิต ICT การประกอบการ
เศรษฐศาสตร์ฯลฯ
สามารถนำข้อมูลที่ได้มาจัดกระทำในรูปแบบที่ง่ายต่อความเข้าใจและถ่ายทอดสู่ผู้อื่นได้อย่างน่าสนใจและสร้างสรรค์
ร่วมเข้าค่ายเรียนรู้เกี่ยวกับการทำสื่อและหนังสั้นร่วมกับผู้อื่น
ฝึกทักษะชีวิตและการอยู่ร่วมกันได้
ทักษะ : ทักษะชีวิต
- สร้างสรรค์ชิ้นงานสื่อความเข้าใจของตนเองได้อย่างเหมาะสมและสร้างสรรค์
- สามารถอยู่ร่วมกับเพื่อนในการเข้าค่ายตลอด 3 วัน 2 คืน ณ อ.ปากช่อง จ.นครราชสีมา
- วางแผนการปีนเขาและจัดเตรียมสิ่งที่จำเป็นในการเดินทางได้
- เลือกใช้วัสดุ/อุปกรณ์ในการทำงานได้คุ้มค่า
ทักษะการคิด
- สามารถคิดวิเคราะห์
สังเคราะห์จากสิ่งที่ได้เรียนรู้เชื่อมโยงสู่ชิ้นงานได้อย่างสร้างสรรค์
- คิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม ทักษะการสื่อสาร - สามารถพูดนำเสนอข้อมูลที่หาได้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆเพื่อถ่ายทอดสู่ผู้อื่น ได้อย่างน่าสนใจและสร้างสรรค์
- สามารถประนีประนอม
ยืดหยุ่นเมื่อเกิดความขัดแย้งในการอยู่ร่วมกันขณะเข้าค่ายและทำงานได้อย่างมีเหตุผล
ทักษะการจัดการข้อมูล
สามารถสรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้จากการเข้าค่ายถ่ายทอดสู่ผู้อื่นในรูปแบบบทความหรือชิ้นงานที่สร้างสรรค์และน่าสนใจ
ทักษะการอยู่ร่วมกัน
- ทำงานเป็นกลุ่มและรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นในเข้าค่ายและทำกิจกรรมต่างๆอย่างพร้องเพรียง
- มีจิตอาสาในการเก็บขยะ/อุปกรณ์หลังการเข้าค่าย
คุณลักษณะ : - มีความพยายาม อดทนในการปีนเขาและทำกิจกรรมร่วมกัน
- รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและกล้าแสดงความคิดเห็นขณะเข้าค่ายใช้ชีวิตร่วมกัน
-
รับผิดชอบต่อตนเองในการเตรียมตัวเดินทางและเข้าร่วมกิจกรรมต่างๆที่เกิดขึ้นตลอดทั้งสัปดาห์
-
อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
|
เป้าหมายรายสัปดาห์ที่ 5 : สามารถสะท้อนสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการเข้าค่ายเพื่อพัฒนาตนเองและทีมอย่างสร้างสรรค์
สามารถวางแผนการทำงานอย่างเป็นขั้นตอนในการผลิตสื่อหนังสั้นและโฆษณาที่สร้างสรรค์และเป็นประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่นได้โดยประยุกต์ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดในการผลิตสื่อได้อย่างคุ้มค่า
Week
|
Input
|
Process
|
Out put
|
Outcome
|
5
9 - 13
ก.พ.
2558
|
โจทย์ : สะท้อนกิจกรรมเข้าค่ายและวางแผนการทำสื่อหนังสั้นสร้างสรรค์
Key Questions
- นักเรียนมีความเข้าใจต่อโฆษณาและหนังสั้นมากน้อยเพียงใด
และถ้านักเรียนจะผลิตโฆษณาและหนังสั้น นักเรียนจะต้องเรียนรู้อะไรบ้าง
- นักเรียนจะวางแผนการทำงานเพื่อผลิตสื่อสร้างสรรค์อย่างไรโดยทุกคนได้มีส่วนร่วมและเกิดการเรียนรู้อย่างแท้จริง
- นักเรียนพบปัญหาอะไรจากการทำงานและจะแก้ปัญหานั้นอย่างไร
เครื่องมือคิด
Corner
:
ศึกษาและค้นหาข้อมูลที่จำเป็นตามที่ได้รับมอบหมายจากสมาชิกในกลุ่มและนำข้อมูลมาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันภายในกลุ่ม
Round Robin :
ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นจากการทำงานและแนวทางแก้ไข
สุนทรียสนทนา :
การวางแผนการทำสื่อหนังสั้นอย่างสร้างสรรค์
Wall Thinking : ติดชิ้นงานสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์และชิ้นงานบทความเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการเข้าค่าย
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ห้องเรียน
- อินเทอร์เน็ต
- ห้องสมุด
- อุปกรณ์การแสดงที่นักเรียนเตรียมมา
|
- แลกเปลี่ยนสิ่งที่แต่ละคนได้เรียนรู้จากการเข้าค่าย
ผ่านเครื่องมือคิด Placemat
- นักเรียนแต่ละกลุ่มได้นำเสนอแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน
- นักเรียนเขียนบทความเกี่ยวกับการเข้าค่าย
- นักเรียนค้นคว้าข้อมูลเพื่อสร้างความเข้าใจต่อโฆษณาและหนังสั้น
- นำข้อมูลที่ได้มาจัดกระทำในรูปแบบที่ง่ายต่อความเข้าใจ
และนำเสนอต่อครูและเพื่อนร่วมชั้น
- ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนั่งสนทนาวางแผนการทำงานร่วมกัน
โดยใช้เครื่องมือคิด สุนทรียะสนทนา
- ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนจะวางแผนการทำงานเพื่อผลิตสื่อสร้างสรรค์อย่างไรโดยทุกคนได้มีส่วนร่วมและเกิดการเรียนรู้ได้อย่างไร?””
- ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนและนักเรียนสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทำงานและบันทึกลงในสมุดงานPBL จากนั้นนักเรียนแต่ละกลุ่มเริ่มลงมือเขียนบทย่อนำเสนอต่อครู
เมื่อผ่านแล้วจึงเริ่มเขียนบทภาพ (Story Board)
และนำบทภาพมานำเสนอต่อครู เมื่อบทภาพผ่านแล้วจึงจะสามารถเริ่มลงมือถ่ายทำได้
- ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้งสัปดาห์
- นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 5
|
ภาระงาน
- การถอดบทเรียนสิ่งที่ไดเรียนรู้จากการเข้าค่าย
- การค้นคว้าข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการผลิตสื่อหนังสั้น
- การวางแผนการทำงานผลิตหนังสั้นเป็นกลุ่ม
- การเปิดวงสนทนาปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นระหว่างการทำงานและแนวทางแก้ไข
- การสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
ชิ้นงาน
- บทความเกี่ยวกับสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการเข้าค่าย
- เนื้อเรื่องย่อ(หนังสั้น)
- บทภาพ(Story
board)
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้ : สามารถสะท้อนสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการเข้าค่ายเพื่อพัฒนาตนเองและทีมอย่างสร้างสรรค์
สามารถวางแผนการทำงานอย่างเป็นขั้นตอนในการผลิตสื่อหนังสั้นและโฆษณาที่สร้างสรรค์และเป็นประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่นได้โดยประยุกต์ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดในการผลิตสื่อได้อย่างคุ้มค่า
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- สามารถสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างเหมาะสมและสามารถประยุกต์ใช้วัสดุอุปกรณ์สำหรับการทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- มีทักษะในการทำงานร่วมกับผู้อื่นในการวางแผนการทำหนังสั้น
- สามารถออกแบบและวางแผนการทำงานได้อย่างเป็นขั้นตอน
ทักษะการคิด - สามารถคิดเชื่อมโยงเรื่องที่ศึกษากับชีวิตประจำวันของตนเองได้
- คิดสร้างสรรค์ในการผลิตสื่อหนังสั้นและโฆษณาที่สร้างสรรค์ได้อย่างเป็นขั้นตอนและตรงตามเป้าหมายที่ต้องการ
- การคิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม ทักษะการสื่อสาร - พูดนำเสนอหรืออธิบายขั้นตอนในการวางแผน ออกแบบการทำงาน ได้อย่างน่าสนใจและสร้างสรรค์
- อธิบายและนำเสนอชิ้นงานเพื่อถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกสู่ผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์
- สามารถประนีประนอม
ยืดหยุ่นเมื่อเกิดความขัดแย้งในการทำงานได้อย่างมีเหตุผล
คุณลักษณะ :
- เคารพ สิทธิ ของตนเองและเพื่อนๆในการทำงานร่วมกันเพื่อผลิตสื่อสร้างสรรค์
- การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นในการวางแผนทำหนังสั้น
-
รับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย เช่น บทย่อ บทภาพ(Story Board) และส่งงานตรงเวลา
-
มีจิตอาสาในการทำงานกลุ่ม มีน้ำใจ ช่วยเหลือแบ่งปันอุปกรณ์สำหรับการทำงาน
|
เป้าหมายรายสัปดาห์ที่ 6 : สามารถทำงานตามแผนที่วางไว้อย่างเป็นขั้นตอนในการผลิตสื่อหนังสั้นสร้างสรรค์โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดในการทำงานได้อย่างคุ้มค่า
Week
|
Input
|
Process
|
Out put
|
Outcome
|
6
16-20
ก.พ.
2558
|
โจทย์ : การทำงานอย่างเป็นขั้นตอนและเป็นทีมเพื่อผลิตสื่อสร้างสรรค์
Key Questions
- นักเรียนจะวางแผนการทำงานเพื่อผลิตสื่อสร้างสรรค์อย่างไรให้เสร็จทันตามเวลาที่กำหนด
- นักเรียนพบปัญหาอะไรจากการทำงานและจะแก้ปัญหานั้นอย่างไร
เครื่องมือคิด
Round
Robin : ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นระหว่างการถ่ายทำหนังสั้น
และแนวทางแก้ไข
- Brainstorms : ระดมความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการทำตัวอย่างหนังสั้น
- Show & Share : นำเสนอตัวอย่างหนังสั้นต่อครูและเพื่อนร่วมชั้นเรียน
สุนทรียะสนทนา :
ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นจากการทำงาน และแนวทางแก้ไข
Wall Thinking : ติดชิ้นงานสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์และชิ้นงานนักเรียน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ห้องเรียน
- อินเทอร์เน็ต
- ห้องสมุด
- อุปกรณ์การแสดงที่นักเรียนเตรียมมา
|
- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนจะวางแผนการทำงานเพื่อผลิตสื่อสร้างสรรค์อย่างไรให้เสร็จทันตามเวลาที่กำหนด”
- นักเรียนแต่ละกลุ่มวางแผนการทำงาน
- ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเริ่มถ่ายทำโดยให้เวลาประมาณ
2 ชั่วโมง
หลังจากนั้นให้นักเรียนแต่ละกลุ่มรายงานความคืบหน้าและสนทนาแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้
ปัญหาที่พบ แนวทางแก้ไข
- ครูใช้คำถามนำ “นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับอะไรบ้างในวันที่ผ่านมา
แต่ละกลุ่มเกิดปัญหาอะไรขึ้นบ้าง และมีวิธีการแก้ปัญหาอย่างไร ?”
- ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเริ่มถ่ายทำโดยให้เวลาประมาณ
2 ชั่วโมง
- ครูติดตามการทำงานของนักเรียนแต่ละกลุ่ม
และให้นักเรียนแต่ละกลุ่มรายงานความคืบหน้าของงาน
-
ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด “นักเรียนแต่ละกลุ่มพบปัญหาอะไรจากการทำงานและจะแก้ปัญหานั้นอย่างไร
- ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทำงานและบันทึกลงในสมุดงาน
PBL
- ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มวางแผนทำตัวอย่างหนังสั้น
เพื่อประชาสัมพันธ์งานของตนเอง และนำเสนอต่อครูและเพื่อนๆ
- ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้งสัปดาห์
- นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 6
|
ภาระงาน
- การถ่ายทำหนังสั้น
- การแลกเปลี่ยนและสะท้อนสิ่งที่ได้จากการทำงาน
- การประชาสัมพันธ์สิ่งที่ตนเองเรียนรูผ่านตัวอย่างหนังสั้น
ชิ้นงาน
- ตัวอย่างหนังสั้น
- คลิปที่ได้จากการถ่ายทำหนังสั้น
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้ : สามารถทำงานตามแผนที่วางไว้อย่างเป็นขั้นตอนในการผลิตสื่อหนังสั้นสร้างสรรค์โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดในการทำงานได้อย่างคุ้มค่า
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- สามารถสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างเหมาะสมและสามารถประยุกต์ใช้วัสดุอุปกรณ์สำหรับการทำหนังสั้นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- มีทักษะในการทำหนังสั้นเป็นทีม
- สามารถออกแบบและวางแผนการทำหนังสั้นได้อย่างเป็นขั้นตอน
ทักษะการคิด
- สามารถคิดเชื่อมโยงเรื่องการทำหนังสั้นให้เข้ากับสิ่งที่มีอยู่เพื่อให้ผลลัพธ์ที่ออกมาดีที่สุด
- คิดสร้างสรรค์ในการผลิตสื่อหนังสั้นที่สร้างสรรค์ได้อย่างเป็นขั้นตอนและตรงตามเป้าหมายที่ต้องการ
- การคิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่ม
ทักษะการสื่อสาร
- พูดนำเสนอหรืออธิบายขั้นตอนในการวางแผน ออกแบบการทำงาน ได้อย่างน่าสนใจและสร้างสรรค์
- อธิบายและนำเสนอชิ้นงานเพื่อถ่ายทอดอารมณ์ความรู้สึกสู่ผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์
- สามารถประนีประนอม
ยืดหยุ่นเมื่อเกิดความขัดแย้งในการทำงานหนังสั้นเป็นกลุ่มได้อย่างมีเหตุผล
คุณลักษณะ :
- ใช้คำพูดในการสนทนากับเพื่อนอย่างสุภาพขณะทำหนังสั้น
- การเคารพยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น
-
รับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย ส่งงานตรงเวลา
- มีจิตอาสาในการทำหนังสั้น
มีน้ำใจ ช่วยเหลือแบ่งปัน
|
เป้าหมายรายสัปดาห์ที่ 7 : สามารถวางแผนการทำงานอย่างเป็นขั้นตอนในการผลิตสื่อหนังสั้นและโฆษณาที่สร้างสรรค์และเป็นประโยชน์ต่อตนเองและผู้อื่นได้
และใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดในการผลิตสื่อสร้างสรรค์ได้อย่างคุ้มค่า
Week
|
Input
|
Process
|
Out put
|
Outcome
|
7
23-27
ก.พ.
2558
|
โจทย์ : โฆษณาสร้างสรรค์
Key Questions
- นักเรียนจะวางแผนการทำงานเพื่อผลิตสื่อสร้างสรรค์อย่างไรให้เสร็จทันตามเวลาที่กำหนด
- นักเรียนพบปัญหาอะไรจากการทำงานและจะแก้ปัญหานั้นอย่างไร
เครื่องมือคิด
Round
Robin : ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นระหว่างการถ่ายทำโฆษณา
และแนวทางแก้ไข
- Brainstorms : ระดมความคิดเห็นร่วมกันเกี่ยวกับการทำโฆษณา
- Show & Share : นำเสนอหัวข้อโฆษณาต่อครูและเพื่อนร่วมชั้นเรียน
สุนทรียะสนทนา :
ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นจากการทำงาน และแนวทางแก้ไข
Wall Thinking : ติดชิ้นงานสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์และชิ้นงานนักเรียน
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้ :
- ครู
- นักเรียน
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- โฆษณาซึ้งๆ
จากไทยประกันชีวิต
- คลิป “รู้ทันลิขสิทธิ์”
- อินเทอร์เน็ต
- ห้องสมุด
- อุปกรณ์การแสดงที่นักเรียนเตรียมมาถ่ายหนังสั้นและโฆษณา
|
- ครูและนักเรียนทบทวนกิจกรรมในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มรายงานความคืบหน้าและตั้งคำถามกระตุ้นการคิด
“นักเรียนจะวางแผนการทำงานเพื่อผลิตสื่อสร้างสรรค์อย่างไรให้เสร็จทันตามเวลาที่กำหนด”
-
ครูให้นักเรียนดูตัวอย่างโฆษณาซึ้งๆ จากไทยประกันชีวิต และตั้งคำถามกระตุ้นการคิด
“ถ้านักเรียนจะผลิตสื่อโฆษณาสร้างสรรค์นักเรียนคิดว่าโฆษณานั้นควรมีลักษณะอย่างไร”
-
นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นตอบคำถามในขั้นชงผ่านเครื่องมือคิด
Round Robin
- ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม(แบ่งกลุ่มใหม่
5 กลุ่ม)วางแผนการทำสื่อโฆษณา ผ่าน Story Board
- ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มเริ่มถ่ายทำโฆษณาโดยให้เวลาประมาณ
1 ชั่วโมง
หลังจากนั้นให้นักเรียนแต่ละกลุ่มรายงานความคืบหน้าและสนทนาแลกเปลี่ยนสิ่งที่ได้เรียนรู้
ปัญหาที่พบ แนวทางแก้ไข
- ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มตัดต่องานโฆษณาโดยให้เวลาประมาณ
1 ชั่วโมง
- ครูติดตามการทำงานของนักเรียนแต่ละกลุ่ม
และให้นักเรียนแต่ละกลุ่มรายงานความคืบหน้าของงาน
- ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นและอภิปรายจากคำถามในขั้นชง และเรียนรู้เกี่ยวกับลิขสิทธิ์และกฏหมายที่เกี่ยวข้องผ่านคลิป
“รู้ทันลิขสิทธิ์”
นักเรียนสรุปความเข้าใจผ่านชิ้นงานที่แปลกใหม่ตามความสนใจ
-
ครูให้นักเรียนดูหนังสั้นและโฆษณาของบางกลุ่มที่ตัดต่อเสร็จแล้วและให้นักเรียนร่วมกันสะท้อนผลงาน
- ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้งสัปดาห์
- นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 7
|
ภาระงาน
- การร่วมระดมความคิดในการทำงานหนังสั้นและโฆษณา
- การตัดต่อหนังสั้นและโฆษณา
- การแลกเปลี่ยนและสะท้อนสิ่งที่ได้จากการทำหนังสั้นและโฆษณา
- การระดมความคิดเกี่ยวกับลิขสิทธิ์และทรัพย์สินทางปัญญา
ชิ้นงาน
- หนังสั้นและโฆษณา
- สรุปความเข้าใจกฎหมายลิขสิทธิ์
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์
|
ความรู้ : สามารถทำงานตามแผนที่วางไว้อย่างเป็นขั้นตอนในการผลิตสื่อหนังสั้นสร้างสรรค์โดยใช้ทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดในการทำงานได้อย่างคุ้มค่า
ทักษะ : ทักษะชีวิต
- สามารถสร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างเหมาะสมและสามารถประยุกต์ใช้วัสดุอุปกรณ์สำหรับการทำหนังสั้นและโฆษณาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- มีทักษะในการทำหนังสั้นและโฆษณาเป็นทีม
- สามารถออกแบบและวางแผนการทำหนังสั้นและโฆษณาได้อย่างเป็นขั้นตอน
ทักษะการคิด - สามารถคิดเชื่อมโยงเรื่องการทำหนังสั้นและโฆษณาเข้ากับสิ่งที่มีอยู่เพื่อให้ผลลัพธ์ที่ออกมาดีที่สุด
- คิดสร้างสรรค์ในการผลิตสื่อหนังสั้นและโฆษณาที่สร้างสรรค์ได้อย่างเป็นขั้นตอนและตรงตามเป้าหมายที่ต้องการ
- การคิดวิเคราะห์และจัดการปัญหาในการทำงานหนังสั้นและโฆษณา ทักษะการสื่อสาร - พูดนำเสนอหรืออธิบายขั้นตอนในการวางแผน ออกแบบการทำหนังสั้นและโฆษณา ได้อย่างน่าสนใจและสร้างสรรค์
- อธิบายและนำเสนอความสำคัญของทรัพย์สินทางปัญญาและลิขสิทธิ์ผ่านชิ้นงานได้อย่างสร้างสรรค์
- สามารถประนีประนอม
ยืดหยุ่นเมื่อเกิดความขัดแย้งในการทำหนังสั้นและโฆษณาเป็นกลุ่มได้อย่างมีเหตุผล
คุณลักษณะ :
- ใช้คำพูดในการสนทนากับเพื่อนอย่างสุภาพขณะทำหนังสั้นและโฆษณา
- เคารพ ยอมรับฟังผู้อื่น
-
รับผิดชอบในงานที่ได้รับมอบหมาย ส่งงานตรงเวลา
- มีจิตอาสาในการทำหนังสั้น
มีน้ำใจ ช่วยเหลือแบ่งปัน
|
เป้าหมายรายสัปดาห์ที่ 8 : สามารถคาดการณ์ล่วงหน้าเกี่ยวกับสื่อและเทคโนโลยีในอนาคตได้
และเสนอแนวทางในการเตรียมพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงได้อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์
วิจารณ์ผลงานตนเองและผู้อื่นเพื่อพัฒนางานอย่างต่อเนื่องแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล
Week
|
Input
|
Process
|
Out put
|
Outcome
|
8
2-6
มี.ค.
2558
|
โจทย์ :
- สื่อและเทคโนโลยีในอนาคต
- ถอดบทเรียน สรุป นำเสนอ
สะท้อนสิ่งที่ได้เรียนรู้
Key Questions
- สื่อและเทคโนโลยีในอนาคตจะเป็นอย่างไร
และนักเรียนจะเตรียมพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงนั้นอย่างไร
-
จากการดูงานของแต่ละกลุ่มนักเรียนรู้สึกอย่างไร และมีความคิดเห็นอย่างไร
- นักเรียนมีความเข้าใจต่อสื่อโฆษณาและหนังสั้นมากน้อยเพียงใด
เครื่องมือคิด
Brainstorms
การร่วมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ “สื่อและเทคโนโลยีในอนาคตและการเตรียมตัวรับการเปลี่ยนแปลง”
Show and Share :
ถอดบทเรียนสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการสร้างสื่อโฆษณาและหนังสั้น
Round Robin :
ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นจากการทำงาน
และแนวทางแก้ไข
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- นักเรียน
- ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ห้องเรียน
- บรรยากาศในชั้นเรียน
|
- ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนกิจกรรมที่เกิดขึ้นในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มนำผลงานที่แต่ละกลุ่มตัดต่อเสร็จแล้วมาเปิดเพื่อนำเสนอต่อครูและเพื่อนๆ
- ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด
จากการดูงานของแต่ละกลุ่มนักเรียนรู้สึกอย่างไรและมีความคิดเห็นอย่างไร
- นักเรียนแต่ละกลุ่มระดมความคิดในหัวข้อ
“ถอดบทเรียนสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทำสื่อโฆษณาและหนังสั้น” โดยครูแจกกระดาษ
ขนาด A3 และสีเมจิกให้แต่ละกลุ่มระดมความคิดร่วมกันโดยใช้เวลา
ประมาณ 40 นาที และนำเสนอ Show and Share
- ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกันอีกครั้ง
-
ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนคิดว่าสื่อและเทคโนโลยีในอนาคตจะเป็นอย่างไร
และนักเรียนจะเตรียมพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงนั้นอย่างไร
- ครูและนักเรียนอภิปรายหัวข้อ
“สื่อและเทคโนโลยีในอนาคตร่วมกัน”
- ครูแบ่งนักเรียนออกเป็น
4 กลุ่มเพื่อระดมความคิดเกี่ยวกับ
“สื่อและเทคโนโลยีในอนาคตและการเตรียมตัวรับการเปลี่ยนแปลง” โดยจัดกระทำชิ้นงานในรูปแบบชาร์ต
Flow Chart หรือ Placemat ตามความสนใจและนำเสนอต่อครูและเพื่อนร่วมชั้น
- ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ร่วมกันอีกครั้งและให้นักเรียนสรุปความเข้าใจเกี่ยวกับสื่อและเทคโนโลยีในอนาคตในรูปแบบ
การ์ตูน หรือบทความ
ตามความสนใจ
- ครูตั้งคำถามกระตุ้นการคิด นักเรียนมีความเข้าใจต่อสื่อโฆษณาหนังสั้นมากน้อยเพียงใดและจะรู้ได้อย่างไรว่าตนเองมีความเข้าใจต่อหน่วยที่ได้เรียนรู้
- นักเรียนร่วมกันตอบคำถามในขั้นชงและให้นักเรียนแต่ละคนตอบคำถามหลังเรียน
(ตอบคำถามจากสิ่งที่นักเรียนอยากเรียนรู้)
- ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้ง
8 สัปดาห์ที่ผ่านมา
- นักเรียนแต่ละคนสรุปสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้หลังเรียนในรูปแบบ
Mind Mapping
- ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ตลอดทั้งสัปดาห์
- นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 8
|
ภาระงาน
- ร่วมแสดงความคิดเห็นและถอดบทเรียนจากสื่อโฆษณาและหนังสั้น
- การอภิปรายหัวข้อ
“สื่อและเทคโนโลยีในอนาคต”
ชิ้นงาน
- โฆษณาและหนังสั้น
- สรุปความเข้าใจเกี่ยวกับเทคโนโลยีในอนาคตและการเตรียมตัวรับการเปลี่ยนแปลงในรูปแบบ การ์ตูน หรือบทความ ตามความสนใจ
- ตอบคำถามจากสิ่งที่อยากรู้
- สรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้หลังเรียนในรูปแบบ
Mind Mapping
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 8
|
ความรู้ :
สามารถคาดการณ์ล่วงหน้าเกี่ยวกับสื่อและเทคโนโลยีในอนาคตได้
และเสนอแนวทางในการเตรียมพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงได้อย่างสร้างสรรค์ วิเคราะห์
วิจารณ์ผลงานตนเองและผู้อื่นเพื่อพัฒนางานอย่างต่อเนื่องแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล
ทักษะ :
ทักษะชีวิต
- การเลือกใช้เครื่องมือในการ สร้างสรรค์ชิ้นงานได้อย่างคุ้มค่าและเหมาะสม
- เข้าใจและมีเป้าหมายในการเรียนรู้ในการทำสื่อโฆษณาและหนังสั้นของตนเองและกลุ่ม
- มีความยืดหยุ่นต่อในถอดบทเรียนสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการทำสื่อโฆษณาและหนังสั้นและมีการแก้ปัญหาที่หลากหลาย
- นำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้ (คาดการณ์สิ่งที่อาจเกิดขึ้นในอนาคตและเสนอแนวทางเตรียมตัวรับการเปลี่ยนแปลง)
ทักษะการคิด
- สามารถคิดเชื่อมโยงเรื่องที่ศึกษากับชีวิตประจำวันของตนเองได้
- สามารถคิดวิเคราะห์
สังเคราะห์ข่าวสารข้อมูลจากสื่อหรือโฆษณาผ่านช่องทางต่างๆได้อย่างมีวิจารณญาณและรู้เท่าทัน
รวมทั้งสามารถถ่ายทอดสู่ผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์
- การคิดวิเคราะห์เพื่อจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่มได้อย่างเหมาะสม ทักษะการสื่อสาร สามารถประนีประนอม ยืดหยุ่นเมื่อเกิดความขัดแย้งในการทำงานได้อย่างมีเหตุผล
คุณลักษณะ :
- มีความพยายาม อดทนในการทำชิ้นงานให้สำเร็จตามเวลาที่กำหนด
- รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและกล้าแสดงความคิดเห็นเพื่อพัฒนาตนเองและผู้อื่นอย่างต่อเนื่อง
- เคารพ
ยอมรับและรู้บทบาทหน้าที่ของตนเองในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
- รับผิดชอบต่อตนเองในการเตรียมอุปกรณ์การแสดงในการสรุป Quarter
- อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
|
เป้าหมายรายสัปดาห์ที่
9 :
สร้างหนังสั้นและสามารถออกแบบวางแผนสร้างหนังสั้นที่มีคุณค่าต่อตนเองและสังคมได้อย่างสร้างสรรค์
เข้าใจและสามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ เลือกบริโภคสื่อต่างๆ ได้อย่างมีวิจารณญาณ
Week
|
Input
|
Process
|
Out put
|
Outcome
|
9
9-13
มี.ค.
2558
|
โจทย์ : ถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจและประเมินตนเอง
Key Questions
- นักเรียนจะสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้และถ่ายทอดสิ่งที่ได้เรียนรู้สู่ผู้อื่นอย่างไรให้น่าสนใจ
- สิ่งไหนที่นักเรียนทำได้ดีแล้วและสิ่งไหนที่ควรพัฒนา
จากการเรียนรู้ PBL หน่วย “สร้างหนังสั้นรู้ทันสื่อ (Short
Movie Indy ไทบ้าน)”
เครื่องมือคิด
Show and
Share :
นำเสนอถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ตลอด Quarter 4
Blackboard Share :
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับรูปแบบการนำเสนอและหาข้อสรุปร่วมกัน
Round Robin :
สะท้อนสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการนำเสนองาน
Wall Thinking : ติดชิ้นงาน
สุนทรียสนทนา :
ให้กำลังใจและกระตุ้นให้นักเรียนกล้าแสดงออกในการนำเสนอถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจใน Quarter ที่ 4
ผู้ร่วมสร้างการเรียนรู้
- นักเรียน
- ครู
สื่อและแหล่งเรียนรู้
- ห้องเรียน
- บรรยากาศในชั้นเรียน
|
- ครูและนักเรียนร่วมกันทบทวนกิจกรรมที่เกิดขึ้นในสัปดาห์ที่ผ่านมา
- นักเรียนร่วมกันวางแผนการนำเสนองานเพื่อถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ตลอด
Quarter 4 ให้น้องๆ และผู้ปกครองได้รับชมให้น่าสนใจ เพลิดเพลินและได้ความรู้
- นักเรียนวางแผนการนำเสนอโดยแบ่งหน้าที่ต่างๆ
เพื่อให้การนำเสนอเป็นไปอย่างน่าสนใจ เช่น ฝ่ายพิธีกร ฝ่ายตกแต่งห้อง
ฝ่ายให้ความรู้(ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการทำสื่อโฆษณาและหนังสั้น เช่น
การเขียนบท การแสดง การใช้มุมกล้อง การลำดับภาพ ตัดต่อ การใส่กราฟิก
ช่องทางการเผยแพร่ ลิขสิทธิ์ การเลือกรับสื่อ) ฝ่ายนำเล่นเกม และผ่ายควบคุมเสียง
เป็นต้น
- ครูให้นักเรียนดู
ประมวลภาพกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดทั้ง 9 สัปดาห์ที่ผ่านมา
- ครูให้นักเรียนซ้อมการแสดงสำหรับถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจใน
Quarter ที่ 4
- หลังซ้อมครูและนักเรียนรวมกันสะท้อนสิ่งที่ตนเองทำได้ดีแล้วและสิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติมจากการเรียนรู้ใน
Quarter ที่ 4
-
นักเรียนแต่ละคนทำชิ้นงาน
การประเมินและสะท้อนตนเอง(สิ่งที่ทำได้ดีแล้วและสิ่งที่ควรพัฒนาเพิ่มเติม)
-
ครูและนักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นร่วมกันในหัวข้อ
“การนำเสนองานอย่างไรให้น่าสนใจ”
- ครูกล่าวให้กำลังใจและกระตุ้นให้นักเรียนกล้าแสดงออกในการนำเสนอถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจใน
Quarter ที่ 4 ผ่านเครื่องมือคิด สุนทรียสนทนา
- นักเรียนนำเสนอถ่ายทอดความรู้ความเข้าใจใน Quarter ที่ 4 ต่อครู
น้องๆและผู้ปกครองที่มาร่วมชื่นชมความงอกงามใน Quarter สุดท้าย
ก่อนที่จะจบชั้น ป.6
- ครูชื่นชมและให้นักเรียนร่วมกันสะท้อนเกี่ยวกับการนำเสนอความงอกงามครั้งสุดท้ายสั้นๆโดยใช้เครื่องมือคิด
Round Robin
- นักเรียนแต่ละคนสรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 9
|
ภาระงาน
- การวางแผนสรุปงานในรูปแบบต่างๆเช่น รูปแบบละคร บทบาทสมมติ นิทรรศการ ผลงานหนังสั้น
โฆษณา ฯลฯ
- การประเมินตนเอง
(สิ่งที่ทำได้ดีแล้วและสิ่งที่ควรพัฒนา)
ชิ้นงาน
- สิ่งที่ทำได้ดีแล้วและสิ่งที่ควรพัฒนา
- การนำเสนองานเพื่อถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ตลอด Quarter4
- สรุปการเรียนรู้รายสัปดาห์ที่ 9
|
ความรู้ : สร้างหนังสั้นและสามารถออกแบบวางแผนสร้างหนังสั้นที่มีคุณค่าต่อตนเองและสังคมได้อย่างสร้างสรรค์
เข้าใจและสามารถวิเคราะห์ สังเคราะห์ เลือกบริโภคสื่อต่างๆ ได้อย่างมีวิจารณญาณ
ทักษะ : ทักษะชีวิต
- สามารถนำเสนองานเพื่อถ่ายทอดสิ่งที่ตนเองได้เรียนรู้ตลอดทั้ง Quarter ที่ 4 ให้น้องๆ และผู้ปกครองได้รับชมให้น่าสนใจ เพลิดเพลินและได้ความรู้
- สามารถวางแผนและทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
- ออกแบบและวางแผนการนำเสนองานได้อย่างเป็นขั้นตอน
- เลือกใช้วัสดุ/อุปกรณ์ในการนำเสนองานได้คุ้มค่าและเหมาะสม
ทักษะการคิด - สามารถคิดเชื่อมโยงเรื่องที่ศึกษากับชีวิตประจำวันของตนเองได้
- สามารถคิดวิเคราะห์
สังเคราะห์ข่าวสารข้อมูลจากสื่อหรือโฆษณาได้อย่างมีวิจารณญาณและรู้เท่าทัน
รวมทั้งสามารถถ่ายทอดสู่ผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์
- สามารถจัดการปัญหาในการทำงานกลุ่มได้อย่างเหมาะสม ทักษะการสื่อสาร สามารถประนีประนอม ยืดหยุ่นเมื่อเกิดความขัดแย้งในการทำงาน คุณลักษณะ : - มีความพยายาม อดทนในการทำทำกิจกรรมนำเสนอก่อนปิด Quarter ที่ 4และพยายามทำชิ้นงานประเมินตนเองและสรุปสัปดาห์ให้สำเร็จตามเวลาที่กำหนด
- รับฟังความคิดเห็นของผู้อื่นและกล้าแสดงความคิดเห็นในการสะท้อนการนำเสนองานเพื่อพัฒนาตนเองและผู้อื่นอย่างต่อเนื่องและสร้างสรรค์
- เคารพ
ยอมรับและรู้บทบาทหน้าที่ของตนเองในการทำงานร่วมกับผู้อื่น
- รับผิดชอบต่อตนเองในการเตรียมอุปกรณ์การแสดงในการสรุป Quarter
- อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
|
ตารางวิเคราะห์หัวเรื่องหน่วยการเรียนรู้กับมาตรฐานการเรียนรู้
(ตัวชี้วัด) แต่ละกลุ่มสาระ
Topic : “สร้างหนังสั้นรู้ทันสื่อ(Short
Movie Indy ไทบ้าน)” ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 Quarter 4 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2557
สาระ
|
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษาฯ
|
ประวัติศาสตร์
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
การงานอาชีพฯ
|
ศิลปะ
|
หน้าที่พลเมือง
|
สร้างฉันทะ
- สร้างแรงบันดาลใจ
-
เลือกหัวข้อหน่วยการเรียนรู้
- สิ่งที่รู้แล้ว
สิ่งที่อยากเรียนรู้
-
ปฏิทินการเรียนรู้
- Mind
Mapping
ก่อนเรียน
|
มาตรฐาน ว 8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็นที่จะศึกษาตามที่กำหนดให้และตามความสนใจได้
(ว 8.1 ป.6/1)
-
วางแผนการเรียนรู้สิ่งที่ตนเองสนใจอย่างเป็นขั้นตอน (ว 8.1
ป.6/2)
- เลือกอุปกรณ์และวิธีการเรียนรู้เพื่อศึกษาหัวข้อที่ตนเองสนใจได้อย่างเหมาะสม
(ว 8.1 ป.6/3)
- รวบรวมข้อมูลที่อยากเรียนรู้และจัดกระทำในรูปแบบที่ง่ายต่อความเข้าใจตามหัวข้อที่ตนเองสนใจหรือได้รับมอบหมายเพื่อนำเสนอผลและข้อสรุปได้อย่างน่าสนใจ
(ว 8.1 ป.6/4)
|
มาตรฐาน ส 3.1
- อธิบายบทบาทของผู้ผลิตสื่อสร้างสรรค์ที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม
(ส 3.1 ป.6/1)
-
อธิบายบทบาทของผู้บริโภคที่รู้เท่าทันสื่อโฆษณาหนังสั้นรูปแบบต่างๆในปัจจุบัน
(ส 3.1 ป.6/2)
-
สามารถประยุกต์ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานอย่างคุ้มค่า
และเกิดประโยชน์สูงสุด
(ส 3.1 ป.6/3)
-
อภิปรายแนวทางการคุ้มครองสิทธิของตนเองในฐานะผู้บริโภคได้อย่างสร้างสรรค์และรู้เท่าทัน(ส 3.1 ม.2/4)
|
มาตรฐาน ส 4.1
-
เทียบศักราชตามระบบต่างๆ
ที่ใช้ศึกษาประวัติศาสตร์จากข้อมูลที่พบได้ (ส 4.1 ม.1/2)
-
ใช้กระบวนการทางประวัติศาสตร์ในการทำความเข้าใจเรื่องต่างๆ
ที่ตนเองสนใจหรือตามที่กำหนดได้อย่างเหมาะสม(ส 4.1 ม.1/3)
-
ประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นจากแหล่งต่างๆ
โดยใช้กระบวนการทางประวัติศาสตร์ได้อย่างสร้างสรรค์
(ส 4.1 ม.2/1)
-
วิเคราะห์ สังเคราะห์ความแตกต่างระหว่าง
ความจริงกับข้อเท็จจริง
|
มาตรฐาน พ 1.1
วิเคราะห์สื่อ
โฆษณาที่มีอิทธิพลต่อผู้บริโภคอย่างรอบด้านเพื่อการรู้เท่าทันสื่ออย่างมีวิจารณญาณ
(พ
1.1
ม.3/3)
มาตรฐาน พ 2.1
-
สร้างสัมพันธภาพที่ดีต่อเพื่อนในการทำงานเป็นกลุ่ม (พ 2.1 ป.6/1)
- เลือกใช้ทักษะที่เหมาะสมในการป้องกัน
ลดความขัดแย้งและแก้ปัญหาจากการทำงาน
(พ
2.1 ม.3/3)
มาตรฐาน พ 4.1
วิเคราะห์ผลของการใช้สื่อและเทคโนโลยีที่มีผลต่อสุขภาพและ
|
มาตรฐาน ง 1.1
-
วิเคราะห์จัดลำดับขั้นตอนการทำงานได้อย่างเหมาะสมเพื่อให้งานเสร็จตรงตามเวลาที่กำหนด(ง
1.1 ม.1/2)
-
ทำงานกลุ่มด้วยความเสียสละ (ง 1.1 ม.1/2)
-
ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำงานอย่างมีเหตุผล (ง 1.1 ม.1/3)
-
ใช้ทักษะการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาการทำงานของตนเองและกลุ่มได้อย่างเหมาะสม (ง
1.1 ม.2/1)
-
มีจิตสำนึกในการทำงานและใช้ทรัพยากรในการทำงานอย่างประหยัดและคุ้มค่า
(ง
1.1 ม.2/3)
|
มาตรฐาน ศ 1.1
-
วาดภาพด้วยเทคนิคที่หลากหลายในการสื่อความหมายถึงเรื่องราวต่างๆตามที่ตนเองสนใจหรือตามที่กำหนด
เช่น Story
board วาดภาพประกอบนิทานหรือ เรื่องราวต่างๆ เป็นต้น (ศ 1.1 ม.2/3)
- นำผลการวิจารณ์ไปปรับปรุงแก้ไขและพัฒนางานตนเอง
(ศ
1.1 ม.2/5)
-
วาดภาพแสดงบุคลิกลักษณะของตัวละครตามความสนใจหรือตามหัวข้อที่กำหนดได้อย่างเหมาะสม
(ศ 1.1 ม.2/6)
|
มาตรฐาน ส 2.1
-
แสดงออกถึงมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เหมาะสมกับกาลเทศะ
(ส
2.1
ป.6/3)
- ติดตามข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์ต่างๆในชีวิต
ประจำวัน เลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารในการเรียนรู้ได้เหมาะสม
(ส 2.1 ป.6/5)
มาตรฐาน ส 2.2
-
มีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกับผู้อื่นและแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล
(ส 2.2 ป.6/2)
|
สาระ
|
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษาฯ
|
ประวัติศาสตร์
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
การงานอาชีพฯ
|
ศิลปะ
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
- สร้างคำถามใหม่เพื่อการเรียนรู้เพื่อตอบโจทย์สิ่งที่ตนเองสนใจได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้
(ว 8.1 ป.6/5)
- แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระอธิบายลงความเห็นและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
รวมทั้งสามารถสะท้อนการทำงานของตนเองและผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์
(ว 8.1 ป.6/6,7)
- นำเสนอจัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจาและเขียนรายงานแสดงกระบวนการและผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างสร้างสรรค์และน่าสนใจ
(ว 8.1 ป.6/8)
|
|
ของเหตุการณ์ต่างๆที่สนใจศึกษาหรือตามหัวข้อที่กำหนดให้ได้
(ส 4.1 ม.2/2)
|
สามารถนำความรู้ความเข้าใจถ่ายทอดสู่ผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์และน่าสนใจ
(พ
4.1
ม.2/2)
-
รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาจากการใช้สื่อและเทคโนโลยีที่ส่งผลต่อสุขภาพและเสนอแนวทางแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
(พ4.1 ม.3/3)
มาตรฐาน พ 5.1
วิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงและพฤติกรรมการใช้สื่อและเทคโนโลยีที่มีผลต่อสุขภาพและหาแนวทางป้องกันได้อย่างเหมาะสม
(พ5.1 ม.3/1)
|
มาตรฐาน ง 2.1
-
มีความคิดสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหาในงานที่ผลิตเอง (ง 2.1 ม.2/3)
-
เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม สิ่งแวดล้อมและมีการจัดการเทคโนโลยีด้วยการลดการใช้ทรัพยากรหรือเลือกใช้เทคโนโลยี
ที่ไม่มีผลกระทบต่อสิ่ง
แวดล้อม(ง
2.1 ม.2/4)
มาตรฐาน ง 3.1
-
ใช้คอมพิวเตอร์ในการค้นหาข้อมูลตามที่สนใจหรือตามที่กำหนดได้อย่างเหมาะสม
(ง 3.1 ป.6/2)
-
ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการในรูปแบบที่เหมาะสมและรับผิดชอบ(ง
3.1ป.6/5)
|
มาตรฐาน ศ 3.1
-
แสดงนาฏศิลป์และ การละครในรูปแบบง่ายๆ (ศ 3.1 ม.1/3)
-
ใช้ทักษะการทำงานเป็นกลุ่มในกระบวน การผลิตการแสดง
(ศ 3.1 ม.1/4)
-
เสนอข้อคิดเห็นในการปรับปรุงการแสดงได้อย่างเหมาะสม
(ศ 3.1 ม.2/4)
-
เชื่อมโยงการเรียนรู้ระหว่างนาฏศิลป์และการละครกับสาระการเรียนรู้อื่น
(ศ 3.1 ม.2/5)
-
นำเสนอแนวคิดจากเนื้อเรื่องของการแสดงที่ได้รับชมและสามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม(ศ
3.1 ม.3/7)
|
|
สาระ
|
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษาฯ
|
ประวัติศาสตร์
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
การงานอาชีพฯ
|
ศิลปะ
|
หน้าที่พลเมือง
|
การผลิตสื่อ
โฆษณา
หนังสั้นสร้างสรรค์
|
มาตรฐาน ว 8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็นที่จะศึกษาตามที่กำหนดให้และตามความสนใจได้
(ว 8.1 ป.6/1)
-
วางแผนการเรียนรู้สิ่งที่ตนเองสนใจอย่างเป็นขั้นตอน (ว 8.1
ป.6/2)
- เลือกอุปกรณ์และวิธีการเรียนรู้เพื่อศึกษาหัวข้อที่ตนเองสนใจได้อย่างเหมาะสม
(ว 8.1 ป.6/3)
- รวบรวมข้อมูลที่ได้จากการค้นคว้าและจัดกระทำในรูปแบบที่ง่ายต่อความเข้าใจตามหัวข้อที่ตนเองสนใจหรือได้รับมอบหมายเพื่อนำเสนอผลและข้อสรุปได้อย่างน่าสนใจ
(ว 8.1 ป.6/4)
|
มาตรฐาน ส 3.1
- อธิบายบทบาทของผู้ผลิตสื่อสร้างสรรค์ที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม
(ส 3.1 ป.6/1)
-
อธิบายบทบาทของผู้บริโภคที่รู้เท่าทันสื่อโฆษณาหนังสั้นรูปแบบต่างๆในปัจจุบัน
(ส 3.1 ป.6/2)
-
สามารถประยุกต์ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานอย่างคุ้มค่า
และเกิดประโยชน์สูงสุด
(ส 3.1 ป.6/3)
-
อภิปรายแนวทางการคุ้มครองสิทธิของตนเองในฐานะผู้บริโภคได้อย่างสร้างสรรค์และรู้เท่าทัน(ส 3.1 ม.2/4)
|
มาตรฐาน ส 4.1
-
เทียบศักราชตามระบบต่างๆ
ที่ใช้ศึกษาประวัติศาสตร์จากข้อมูลที่พบได้ (ส 4.1 ม.1/2)
-
ใช้กระบวนการทางประวัติศาสตร์ในการทำความเข้าใจเรื่องต่างๆ
ที่ตนเองสนใจหรือตามที่กำหนดได้อย่างเหมาะสม(ส 4.1 ม.1/3)
-
ประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นจากแหล่งต่างๆ
โดยใช้กระบวนการทางประวัติศาสตร์ได้อย่างสร้างสรรค์
(ส 4.1 ม.2/1)
-
วิเคราะห์ สังเคราะห์ความแตกต่างระหว่าง
|
มาตรฐาน พ 1.1
วิเคราะห์สื่อ
โฆษณาที่มีอิทธิพลต่อผู้บริโภคอย่างรอบด้านเพื่อการรู้เท่าทันสื่ออย่างมีวิจารณญาณ
(พ
1.1
ม.3/3)
มาตรฐาน พ 2.1
-
สร้างสัมพันธภาพที่ดีต่อเพื่อนในการทำงานเป็นกลุ่ม (พ 2.1 ป.6/1)
- เลือกใช้ทักษะที่เหมาะสมในการป้องกัน ลดความขัดแย้งและแก้ปัญหาจากการทำงาน
(พ 2.1 ม.3/3)
มาตรฐาน พ 4.1
วิเคราะห์ผลของการใช้สื่อและเทคโนโลยีที่มีผลต่อสุขภาพและสามารถนำความรู้ความเข้าใจถ่ายทอดสู่ผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์และน่าสนใจ
(พ
4.1
ม.2/2)
|
มาตรฐาน ง 1.1
-
วิเคราะห์จัดลำดับขั้นตอนการทำงานได้อย่างเหมาะสมเพื่อให้งานเสร็จตรงตามเวลาที่กำหนด(ง
1.1 ม.1/2)
-
ทำงานกลุ่มด้วยความเสียสละ (ง 1.1 ม.1/2)
-
ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำงานอย่างมีเหตุผล (ง 1.1 ม.1/3)
-
ใช้ทักษะการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาการทำงานของตนเองและกลุ่มได้อย่างเหมาะสม (ง
1.1 ม.2/1)
-
มีจิตสำนึกในการทำงานและใช้ทรัพยากรในการทำงานอย่างประหยัดและคุ้มค่า
(ง
1.1 ม.2/3)
|
มาตรฐาน ศ 1.1
-
วาดภาพด้วยเทคนิคที่หลากหลายในการสื่อความหมายถึงเรื่องราวต่างๆตามที่ตนเองสนใจหรือตามที่กำหนด
เช่น Story
board วาดภาพประกอบนิทานหรือ เรื่องราวต่างๆ เป็นต้น (ศ 1.1 ม.2/3)
- นำผลการวิจารณ์ไปปรับปรุงแก้ไขและพัฒนางานตนเอง
(ศ
1.1 ม.2/5)
-
วาดภาพแสดงบุคลิกลักษณะของตัวละครตามความสนใจหรือตามหัวข้อที่กำหนดได้อย่างเหมาะสม
(ศ 1.1 ม.2/6)
มาตรฐาน ศ 3.1
-
แสดงนาฏศิลป์และ
|
มาตรฐาน ส 2.1
-
แสดงออกถึงมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เหมาะสมกับกาลเทศะ
(ส
2.1
ป.6/3)
- ติดตามข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์ต่างๆในชีวิต
ประจำวัน เลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารในการเรียนรู้ได้เหมาะสม
(ส 2.1 ป.6/5)
มาตรฐาน ส 2.2
-
มีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกับผู้อื่นและแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล
(ส 2.2 ป.6/2)
|
สาระ
|
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษาฯ
|
ประวัติศาสตร์
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
การงานอาชีพฯ
|
ศิลปะ
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
- สร้างคำถามใหม่เพื่อการเรียนรู้เพื่อตอบโจทย์สิ่งที่ตนเองสนใจได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้
(ว 8.1 ป.6/5)
- แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระอธิบายลงความเห็นและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
รวมทั้งสามารถสะท้อนการทำงานของตนเองและผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์
(ว 8.1 ป.6/6,7)
- นำเสนอจัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจาและเขียนรายงานแสดงกระบวนการและผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างสร้างสรรค์และน่าสนใจ
(ว 8.1 ป.6/8)
|
|
ความจริงกับข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ต่างๆที่สนใจศึกษาหรือตามหัวข้อข่าวที่กำหนดให้ได้
(ส
4.1 ม.2/2)
|
-
รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาจากการใช้สื่อและเทคโนโลยีที่ส่งผลต่อสุขภาพและเสนอแนวทางแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
(พ4.1 ม.3/3)
มาตรฐาน พ 5.1
วิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงและพฤติกรรมการใช้สื่อและเทคโนโลยีที่มีผลต่อสุขภาพและหาแนวทางป้องกันได้อย่างเหมาะสม
(พ5.1 ม.3/1)
|
มาตรฐาน ง 2.1
-
มีความคิดสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหาในงานที่ผลิตเอง (ง 2.1 ม.2/3)
-
เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม
สิ่งแวดล้อมและมีการจัดการเทคโนโลยีด้วยการลดการใช้ทรัพยากรหรือเลือกใช้เทคโนโลยี
ที่ไม่มีผลกระทบต่อสิ่ง
แวดล้อม(ง
2.1 ม.2/4)
มาตรฐาน ง 3.1
-
ใช้คอมพิวเตอร์ในการค้นหาข้อมูลตามที่สนใจหรือตามที่กำหนดได้อย่างเหมาะสม
(ง 3.1 ป.6/2)
-
ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการในรูปแบบที่เหมาะสมและรับผิดชอบ(ง
3.1ป.6/5)
|
การละครในรูปแบบง่ายๆ
(ศ 3.1
ม.1/3)
-
ใช้ทักษะการทำงานเป็นกลุ่มในกระบวน การผลิตการแสดง
(ศ 3.1 ม.1/4)
-
เสนอข้อคิดเห็นในการปรับปรุงการแสดงได้อย่างเหมาะสม
(ศ 3.1 ม.2/4)
-
เชื่อมโยงการเรียนรู้ระหว่างนาฏศิลป์และการละครกับสาระการเรียนรู้อื่น
(ศ
3.1
ม.2/5)
-
นำเสนอแนวคิดจากเนื้อเรื่องของการแสดงที่สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
(ศ
3.1
ม.3/7)
-
ระบุประโยชน์ที่ได้รับจากการแสดงหรือชมนาฏศิลป์และการละคร (ศ 3.2
ป.6/2)
|
|
สาระ
|
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษาฯ
|
ประวัติศาสตร์
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
การงานอาชีพฯ
|
ศิลปะ
|
หน้าที่พลเมือง
|
กฎหมาย ICT
|
มาตรฐาน ว 8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็นที่จะศึกษาตามที่กำหนดให้และตามความสนใจได้
(ว 8.1 ป.6/1)
-
วางแผนการเรียนรู้สิ่งที่ตนเองสนใจอย่างเป็นขั้นตอน (ว 8.1
ป.6/2)
- เลือกอุปกรณ์และวิธีการเรียนรู้เพื่อศึกษาหัวข้อที่ตนเองสนใจได้อย่างเหมาะสม
(ว 8.1 ป.6/3)
- รวบรวมข้อมูลที่ได้จากการค้นคว้าและจัดกระทำในรูปแบบที่ง่ายต่อความเข้าใจตามหัวข้อที่ตนเองสนใจหรือได้รับมอบหมายเพื่อนำเสนอผลและข้อสรุปได้อย่างน่าสนใจ
(ว 8.1 ป.6/4)
|
มาตรฐาน ส 3.1
- อธิบายบทบาทของผู้ผลิตสื่อสร้างสรรค์ที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม
(ส 3.1 ป.6/1)
-
อธิบายบทบาทของผู้บริโภคที่รู้เท่าทันสื่อโฆษณาหนังสั้นรูปแบบต่างๆในปัจจุบัน
(ส 3.1 ป.6/2)
-
สามารถประยุกต์ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานอย่างคุ้มค่า
และเกิดประโยชน์สูงสุด
(ส 3.1 ป.6/3)
-
อภิปรายแนวทางการคุ้มครองสิทธิของตนเองในฐานะผู้บริโภคได้อย่างสร้างสรรค์และรู้เท่าทัน(ส 3.1 ม.2/4)
|
มาตรฐาน ส 4.1
-
เทียบศักราชตามระบบต่างๆ
ที่ใช้ศึกษาประวัติศาสตร์จากข้อมูลที่พบได้ (ส 4.1 ม.1/2)
-
ใช้กระบวนการทางประวัติศาสตร์ในการทำความเข้าใจเรื่องต่างๆ
ที่ตนเองสนใจหรือตามที่กำหนดได้อย่างเหมาะสม(ส 4.1 ม.1/3)
-
ประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นจากแหล่งต่างๆ
โดยใช้กระบวนการทางประวัติศาสตร์ได้อย่างสร้างสรรค์
(ส 4.1 ม.2/1)
|
มาตรฐาน พ 1.1
วิเคราะห์สื่อ
โฆษณาที่มีอิทธิพลต่อผู้บริโภคอย่างรอบด้านเพื่อการรู้เท่าทันสื่ออย่างมีวิจารณญาณ
(พ
1.1
ม.3/3)
มาตรฐาน พ 2.1
-
สร้างสัมพันธภาพที่ดีต่อเพื่อนในการทำงานเป็นกลุ่ม (พ 2.1 ป.6/1)
- เลือกใช้ทักษะที่เหมาะสมในการป้องกัน
ลดความขัดแย้งและแก้ปัญหาจากการทำงาน
(พ 2.1 ม.3/3)
|
มาตรฐาน ง 1.1
-
วิเคราะห์จัดลำดับขั้นตอนการทำงานได้อย่างเหมาะสมเพื่อให้งานเสร็จตรงตามเวลาที่กำหนด(ง
1.1 ม.1/2)
-
ทำงานกลุ่มด้วยความเสียสละ (ง 1.1 ม.1/2)
-
ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำงานอย่างมีเหตุผล (ง 1.1 ม.1/3)
-
ใช้ทักษะการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาการทำงานของตนเองและกลุ่มได้อย่างเหมาะสม (ง
1.1 ม.2/1)
-
มีจิตสำนึกในการทำงานและใช้ทรัพยากรในการทำงานอย่างประหยัดและคุ้มค่า
(ง
1.1 ม.2/3)
|
มาตรฐาน ศ 1.1
-
วาดภาพด้วยเทคนิคที่หลากหลายในการสื่อความหมายถึงเรื่องราวต่างๆตามที่ตนเองสนใจหรือตามที่กำหนด
เช่น Story
board วาดภาพประกอบนิทานหรือ เรื่องราวต่างๆ เป็นต้น (ศ 1.1 ม.2/3)
- นำผลการวิจารณ์ไปปรับปรุงแก้ไขและพัฒนางานตนเอง
(ศ
1.1 ม.2/5)
-
วาดภาพแสดงบุคลิกลักษณะของตัวละครตามความสนใจหรือตามหัวข้อที่กำหนดได้อย่างเหมาะสม
(ศ 1.1 ม.2/6)
มาตรฐาน ศ 3.1
-
แสดงนาฏศิลป์และ
|
มาตรฐาน ส 2.1
-
แสดงออกถึงมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เหมาะสมกับกาลเทศะ
(ส
2.1
ป.6/3)
- ติดตามข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์ต่างๆในชีวิต
ประจำวัน เลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารในการเรียนรู้ได้เหมาะสม
(ส 2.1 ป.6/5)
มาตรฐาน ส 2.2
-
มีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกับผู้อื่นและแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล
(ส 2.2 ป.6/2)
|
สาระ
|
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษาฯ
|
ประวัติศาสตร์
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
การงานอาชีพฯ
|
ศิลปะ
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
- สร้างคำถามใหม่เพื่อการเรียนรู้เพื่อตอบโจทย์สิ่งที่ตนเองสนใจได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้
(ว 8.1 ป.6/5)
- แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระอธิบายลงความเห็นและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
รวมทั้งสามารถสะท้อนการทำงานของตนเองและผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์
(ว 8.1 ป.6/6,7)
- นำเสนอจัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจาและเขียนรายงานแสดงกระบวนการและผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างสร้างสรรค์และน่าสนใจ
(ว 8.1 ป.6/8)
|
|
-
วิเคราะห์ สังเคราะห์ความแตกต่างระหว่าง
ความจริงกับข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ต่างๆที่สนใจศึกษาหรือตามหัวข้อข่าวที่กำหนดให้ได้
(ส
4.1 ม.2/2)
|
มาตรฐาน พ 4.1
วิเคราะห์ผลของการใช้สื่อและเทคโนโลยีที่มีผลต่อสุขภาพและสามารถนำความรู้ความเข้าใจถ่ายทอดสู่ผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์และน่าสนใจ
(พ
4.1
ม.2/2)
-
รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาจากการใช้สื่อและเทคโนโลยีที่ส่งผลต่อสุขภาพและเสนอแนวทางแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
(พ4.1 ม.3/3)
มาตรฐาน พ 5.1
วิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงและพฤติกรรมการใช้สื่อและเทคโนโลยีที่มีผลต่อสุขภาพและหาแนวทางป้องกันได้อย่างเหมาะสม
(พ5.1 ม.3/1)
|
มาตรฐาน ง 2.1
-
มีความคิดสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหาในงานที่ผลิตเอง (ง 2.1 ม.2/3)
-
เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม
สิ่งแวดล้อมและมีการจัดการเทคโนโลยีด้วยการลดการใช้ทรัพยากรหรือเลือกใช้เทคโนโลยี
ที่ไม่มีผลกระทบต่อสิ่ง
แวดล้อม(ง
2.1 ม.2/4)
มาตรฐาน ง 3.1
-
ใช้คอมพิวเตอร์ในการค้นหาข้อมูลตามที่สนใจหรือตามที่กำหนดได้อย่างเหมาะสม
(ง 3.1 ป.6/2)
-
ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการในรูปแบบที่เหมาะสมและรับผิดชอบ(ง
3.1ป.6/5)
|
การละครในรูปแบบง่ายๆ
(ศ
3.1 ม.1/3)
-
ใช้ทักษะการทำงานเป็นกลุ่มในกระบวน การผลิตการแสดง
(ศ 3.1 ม.1/4)
-
เสนอข้อคิดเห็นในการปรับปรุงการแสดงได้อย่างเหมาะสม
(ศ 3.1 ม.2/4)
-
เชื่อมโยงการเรียนรู้ระหว่างนาฏศิลป์และการละครกับสาระการเรียนรู้อื่น
(ศ
3.1
ม.2/5)
-
นำเสนอแนวคิดจากเนื้อเรื่องของการแสดงที่สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
(ศ
3.1
ม.3/7)
-
ระบุประโยชน์ที่ได้รับจากการแสดงหรือชมนาฏศิลป์และการละคร (ศ 3.2
ป.6/2)
|
|
สาระ
|
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษาฯ
|
ประวัติศาสตร์
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
การงานอาชีพฯ
|
ศิลปะ
|
หน้าที่พลเมือง
|
การใช้สื่ออย่างรู้เท่าทัน
|
มาตรฐาน ว 8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็นที่จะศึกษาตามที่กำหนดให้และตามความสนใจได้
(ว 8.1 ป.6/1)
-
วางแผนการเรียนรู้สิ่งที่ตนเองสนใจอย่างเป็นขั้นตอน (ว 8.1
ป.6/2)
- เลือกอุปกรณ์และวิธีการเรียนรู้เพื่อศึกษาหัวข้อที่ตนเองสนใจได้อย่างเหมาะสม
(ว 8.1 ป.6/3)
- รวบรวมข้อมูลที่ได้จากการค้นคว้าและจัดกระทำในรูปแบบที่ง่ายต่อความเข้าใจตามหัวข้อที่ตนเองสนใจหรือได้รับมอบหมายเพื่อนำเสนอผลและข้อสรุปได้อย่างน่าสนใจ
(ว 8.1 ป.6/4)
|
มาตรฐาน ส 3.1
- อธิบายบทบาทของผู้ผลิตสื่อสร้างสรรค์ที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม
(ส 3.1 ป.6/1)
-
อธิบายบทบาทของผู้บริโภคที่รู้เท่าทันสื่อโฆษณาหนังสั้นรูปแบบต่างๆในปัจจุบัน
(ส 3.1 ป.6/2)
-
สามารถประยุกต์ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานอย่างคุ้มค่า
และเกิดประโยชน์สูงสุด
(ส 3.1 ป.6/3)
-
อภิปรายแนวทางการคุ้มครองสิทธิของตนเองในฐานะผู้บริโภคได้อย่างสร้างสรรค์และรู้เท่าทัน(ส 3.1 ม.2/4)
|
มาตรฐาน ส 4.1
-
เทียบศักราชตามระบบต่างๆ ที่ใช้ศึกษาประวัติศาสตร์จากข้อมูลที่พบได้
(ส 4.1 ม.1/2)
-
ใช้กระบวนการทางประวัติศาสตร์ในการทำความเข้าใจเรื่องต่างๆ
ที่ตนเองสนใจหรือตามที่กำหนดได้อย่างเหมาะสม(ส 4.1 ม.1/3)
-
ประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นจากแหล่งต่างๆ
โดยใช้กระบวนการทางประวัติศาสตร์ได้อย่างสร้างสรรค์(ส 4.1 ม.2/1)
-
วิเคราะห์ สังเคราะห์ความแตกต่างระหว่าง
ความจริงกับข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ต่างๆที่สนใจศึกษาหรือตามหัวข้อข่าวที่กำหนดให้ได้
(ส
4.1 ม.2/2)
|
มาตรฐาน พ 1.1
วิเคราะห์สื่อ
โฆษณาที่มีอิทธิพลต่อผู้บริโภคอย่างรอบด้านเพื่อการรู้เท่าทันสื่ออย่างมีวิจารณญาณ
(พ
1.1
ม.3/3)
มาตรฐาน พ 2.1
-
สร้างสัมพันธภาพที่ดีต่อเพื่อนในการทำงานเป็นกลุ่ม (พ 2.1 ป.6/1)
- เลือกใช้ทักษะที่เหมาะสมในการป้องกัน
ลดความขัดแย้งและแก้ปัญหาจากการทำงาน (พ 2.1 ม.3/3)
|
มาตรฐาน ง 1.1
-
วิเคราะห์จัดลำดับขั้นตอนการทำงานได้อย่างเหมาะสมเพื่อให้งานเสร็จตรงตามเวลาที่กำหนด(ง
1.1 ม.1/2)
-
ทำงานกลุ่มด้วยความเสียสละ (ง 1.1 ม.1/2)
-
ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำงานอย่างมีเหตุผล (ง 1.1 ม.1/3)
-
ใช้ทักษะการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาการทำงานของตนเองและกลุ่มได้อย่างเหมาะสม (ง
1.1 ม.2/1)
-
มีจิตสำนึกในการทำงานและใช้ทรัพยากรในการทำงานอย่างประหยัดและคุ้มค่า
(ง
1.1 ม.2/3)
|
มาตรฐาน ศ 1.1
-
วาดภาพด้วยเทคนิคที่หลากหลายในการสื่อความหมายถึงเรื่องราวต่างๆตามที่ตนเองสนใจหรือตามที่กำหนด
เช่น Story
board วาดภาพประกอบนิทานหรือ เรื่องราวต่างๆ เป็นต้น (ศ 1.1 ม.2/3)
- นำผลการวิจารณ์ไปปรับปรุงแก้ไขและพัฒนางานตนเอง
(ศ
1.1 ม.2/5)
-
วาดภาพแสดงบุคลิกลักษณะของตัวละครตามความสนใจหรือตามหัวข้อที่กำหนดได้อย่างเหมาะสม
(ศ 1.1 ม.2/6)
มาตรฐาน ศ 3.1
-
แสดงนาฏศิลป์และ
|
มาตรฐาน ส 2.1
-
แสดงออกถึงมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เหมาะสมกับกาลเทศะ
(ส
2.1
ป.6/3)
- ติดตามข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์ต่างๆในชีวิต
ประจำวัน เลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารในการเรียนรู้ได้เหมาะสม
(ส 2.1 ป.6/5)
มาตรฐาน ส 2.2
-
มีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกับผู้อื่นและแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล
(ส 2.2 ป.6/2)
|
สาระ
|
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษาฯ
|
ประวัติศาสตร์
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
การงานอาชีพฯ
|
ศิลปะ
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
- สร้างคำถามใหม่เพื่อการเรียนรู้เพื่อตอบโจทย์สิ่งที่ตนเองสนใจได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้
(ว 8.1 ป.6/5)
- แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระอธิบายลงความเห็นและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
รวมทั้งสามารถสะท้อนการทำงานของตนเองและผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์
(ว 8.1 ป.6/6,7)
- นำเสนอจัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจาและเขียนรายงานแสดงกระบวนการและผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างสร้างสรรค์และน่าสนใจ
(ว 8.1 ป.6/8)
|
|
|
มาตรฐาน พ 4.1
วิเคราะห์ผลของการใช้สื่อและเทคโนโลยีที่มีผลต่อสุขภาพและสามารถนำความรู้ความเข้าใจถ่ายทอดสู่ผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์และน่าสนใจ
(พ
4.1
ม.2/2)
-
รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาจากการใช้สื่อและเทคโนโลยีที่ส่งผลต่อสุขภาพและเสนอแนวทางแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
(พ4.1 ม.3/3)
มาตรฐาน พ 5.1
วิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงและพฤติกรรมการใช้สื่อและเทคโนโลยีที่มีผลต่อสุขภาพและหาแนวทางป้องกันได้อย่างเหมาะสม
(พ5.1 ม.3/1)
|
มาตรฐาน ง 2.1
-
มีความคิดสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหาในงานที่ผลิตเอง (ง 2.1 ม.2/3)
-
เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม
สิ่งแวดล้อมและมีการจัดการเทคโนโลยีด้วยการลดการใช้ทรัพยากรหรือเลือกใช้เทคโนโลยี
ที่ไม่มีผลกระทบต่อสิ่ง
แวดล้อม(ง
2.1 ม.2/4)
มาตรฐาน ง 3.1
-
ใช้คอมพิวเตอร์ในการค้นหาข้อมูลตามที่สนใจหรือตามที่กำหนดได้อย่างเหมาะสม
(ง 3.1 ป.6/2)
-
ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการในรูปแบบที่เหมาะสมและรับผิดชอบ(ง
3.1ป.6/5)
|
การละครในรูปแบบง่ายๆ
(ศ
3.1 ม.1/3)
-
ใช้ทักษะการทำงานเป็นกลุ่มในกระบวน การผลิตการแสดง
(ศ 3.1 ม.1/4)
-
เสนอข้อคิดเห็นในการปรับปรุงการแสดงได้อย่างเหมาะสม
(ศ 3.1 ม.2/4)
-
เชื่อมโยงการเรียนรู้ระหว่างนาฏศิลป์และการละครกับสาระการเรียนรู้อื่น
(ศ
3.1
ม.2/5)
-
นำเสนอแนวคิดจากเนื้อเรื่องของการแสดงที่สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
(ศ
3.1
ม.3/7)
-
ระบุประโยชน์ที่ได้รับจากการแสดงหรือชมนาฏศิลป์และการละคร (ศ 3.2
ป.6/2)
|
|
สาระ
|
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษาฯ
|
ประวัติศาสตร์
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
การงานอาชีพฯ
|
ศิลปะ
|
หน้าที่พลเมือง
|
ปัญหาการใช้สื่อและเทคโนโลยีในอนาคต
|
มาตรฐาน ว 8.1
- ตั้งคำถามเกี่ยวกับประเด็นที่จะศึกษาตามที่กำหนดให้และตามความสนใจได้
(ว 8.1 ป.6/1)
- เลือกอุปกรณ์และวิธีการเรียนรู้เพื่อศึกษาหัวข้อที่ตนเองสนใจได้อย่างเหมาะสม(ว8.1ป.6/3)
- รวบรวมข้อมูลที่ได้จากการค้นคว้าและจัดกระทำในรูปแบบที่ง่ายต่อความเข้าใจตามหัวข้อที่ตนเองสนใจหรือได้รับมอบหมายเพื่อนำเสนอผลและข้อสรุปได้อย่างน่าสนใจ(ว
8.1 ป.6/4)
|
มาตรฐาน ส 3.1
- อธิบายบทบาทของผู้ผลิตสื่อสร้างสรรค์ที่มีความรับผิดชอบต่อสังคม
(ส 3.1 ป.6/1)
-
อธิบายบทบาทของผู้บริโภคที่รู้เท่าทันสื่อโฆษณาหนังสั้นรูปแบบต่างๆในปัจจุบัน
(ส 3.1 ป.6/2)
-
สามารถประยุกต์ใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในการสร้างสรรค์ชิ้นงานอย่างคุ้มค่า
และเกิดประโยชน์สูงสุด
(ส 3.1 ป.6/3)
-
อภิปรายแนวทางการคุ้มครองสิทธิของตนเองในฐานะผู้บริโภคได้อย่างสร้างสรรค์และรู้เท่าทัน(ส 3.1 ม.2/4)
|
มาตรฐาน ส 4.1
-
เทียบศักราชตามระบบต่างๆ
ที่ใช้ศึกษาประวัติศาสตร์จากข้อมูลที่พบได้
(ส 4.1 ม.1/2)
-
ใช้กระบวนการทางประวัติศาสตร์ในการทำความเข้าใจเรื่องต่างๆ
ที่ตนเองสนใจหรือตามที่กำหนดได้อย่างเหมาะสม(ส 4.1 ม.1/3)
-
ประเมินความน่าเชื่อถือของข้อมูลที่ได้จากการสืบค้นจากแหล่งต่างๆ
โดยใช้กระบวนการทางประวัติศาสตร์ได้อย่างสร้างสรรค์
(ส 4.1 ม.2/1)
-
วิเคราะห์ สังเคราะห์ความแตกต่างระหว่าง
|
มาตรฐาน พ 1.1
วิเคราะห์สื่อ
โฆษณาที่มีอิทธิพลต่อผู้บริโภคอย่างรอบด้านเพื่อการรู้เท่าทันสื่ออย่างมีวิจารณญาณ
(พ
1.1
ม.3/3)
มาตรฐาน พ 2.1
-
สร้างสัมพันธภาพที่ดีต่อเพื่อนในการทำงานเป็นกลุ่ม (พ 2.1 ป.6/1)
- เลือกใช้ทักษะที่เหมาะสมในการป้องกัน
ลดความขัดแย้งและแก้ปัญหาจากการทำงาน (พ 2.1 ม.3/3)
มาตรฐาน พ 4.1
วิเคราะห์ผลของการใช้สื่อและเทคโนโลยีที่มีผลต่อสุขภาพและสามารถนำความรู้ความเข้าใจถ่ายทอดสู่ผู้อื่นได้อย่างสร้างสรรค์และน่าสนใจ
(พ
4.1
ม.2/2)
|
มาตรฐาน ง 1.1
-
วิเคราะห์จัดลำดับขั้นตอนการทำงานได้อย่างเหมาะสมเพื่อให้งานเสร็จตรงตามเวลาที่กำหนด(ง
1.1 ม.1/2)
-
ทำงานกลุ่มด้วยความเสียสละ (ง 1.1 ม.1/2)
-
ตัดสินใจแก้ปัญหาการทำงานอย่างมีเหตุผล (ง 1.1 ม.1/3)
-
ใช้ทักษะการแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาการทำงานของตนเองและกลุ่มได้อย่างเหมาะสม (ง
1.1 ม.2/1)
-
มีจิตสำนึกในการทำงานและใช้ทรัพยากรในการทำงานอย่างประหยัดและคุ้มค่า
(ง
1.1 ม.2/3)
|
มาตรฐาน ศ 1.1
-
วาดภาพด้วยเทคนิคที่หลากหลายในการสื่อความหมายถึงเรื่องราวต่างๆตามที่ตนเองสนใจหรือตามที่กำหนด
เช่น Story
board วาดภาพประกอบนิทานหรือ เรื่องราวต่างๆ เป็นต้น (ศ 1.1 ม.2/3)
- นำผลการวิจารณ์ไปปรับปรุงแก้ไขและพัฒนางานตนเอง
(ศ
1.1 ม.2/5)
-
วาดภาพแสดงบุคลิกลักษณะของตัวละครตามความสนใจหรือตามหัวข้อที่กำหนดได้อย่างเหมาะสม
(ศ 1.1 ม.2/6)
มาตรฐาน ศ 3.1
-
แสดงนาฏศิลป์และ
|
มาตรฐาน ส 2.1
-
แสดงออกถึงมารยาทในการทำงานร่วมกับผู้อื่นได้เหมาะสมกับกาลเทศะ
(ส
2.1
ป.6/3)
- ติดตามข้อมูลข่าวสารเหตุการณ์ต่างๆในชีวิต
ประจำวัน เลือกรับและใช้ข้อมูลข่าวสารในการเรียนรู้ได้เหมาะสม
(ส 2.1 ป.6/5)
มาตรฐาน ส 2.2
-
มีส่วนร่วมในการทำงานร่วมกับผู้อื่นและแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล
(ส 2.2 ป.6/2)
|
สาระ
|
วิทยาศาสตร์
|
สังคมศึกษาฯ
|
ประวัติศาสตร์
|
สุขศึกษาและพลานามัย
|
การงานอาชีพฯ
|
ศิลปะ
|
หน้าที่พลเมือง
|
|
- สร้างคำถามใหม่เพื่อการเรียนรู้เพื่อตอบโจทย์สิ่งที่ตนเองสนใจได้อย่างครอบคลุมและเชื่อถือได้
(ว 8.1 ป.6/5)
- แสดงความคิดเห็นอย่างอิสระอธิบายลงความเห็นและสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้
รวมทั้งสามารถสะท้อนการทำงานของตนเองและผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์
(ว 8.1 ป.6/6,7)
- นำเสนอจัดแสดงผลงานโดยอธิบายด้วยวาจาและเขียนรายงานแสดงกระบวนการและผลของงานให้ผู้อื่นเข้าใจได้อย่างสร้างสรรค์และน่าสนใจ
(ว 8.1 ป.6/8)
|
|
ความจริงกับข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ต่างๆที่สนใจศึกษาหรือตามหัวข้อข่าวที่กำหนดให้ได้
(ส
4.1 ม.2/2)
|
-
รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับปัญหาจากการใช้สื่อและเทคโนโลยีที่ส่งผลต่อสุขภาพและเสนอแนวทางแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์(พ4.1
ม.3/3)
มาตรฐาน พ 5.1
วิเคราะห์ปัจจัยเสี่ยงและพฤติกรรมการใช้สื่อและเทคโนโลยีที่มีผลต่อสุขภาพและหาแนวทางป้องกันได้อย่างเหมาะสม
(พ5.1
ม.3/1)
|
มาตรฐาน
ง 2.1
-
มีความคิดสร้างสรรค์ในการแก้ปัญหาในงานที่ผลิตเอง (ง 2.1 ม.2/3)
-
เลือกใช้เทคโนโลยีอย่างสร้างสรรค์ต่อชีวิต สังคม
สิ่งแวดล้อมและมีการจัดการเทคโนโลยีด้วยการลดการใช้ทรัพยากรหรือเลือกใช้เทคโนโลยี
ที่ไม่มีผลกระทบต่อสิ่ง
แวดล้อม(ง
2.1 ม.2/4)
มาตรฐาน ง 3.1
-
ใช้คอมพิวเตอร์ในการค้นหาข้อมูลตามที่สนใจหรือตามที่กำหนดได้อย่างเหมาะสม
(ง 3.1 ป.6/2)
-
ใช้คอมพิวเตอร์ช่วยสร้างชิ้นงานจากจินตนาการในรูปแบบที่เหมาะสมและรับผิดชอบ(ง
3.1ป.6/5)
|
การละครในรูปแบบง่ายๆ
(ศ
3.1 ม.1/3)
-
ใช้ทักษะการทำงานเป็นกลุ่มในกระบวน การผลิตการแสดง
(ศ 3.1 ม.1/4)
-
เสนอข้อคิดเห็นในการปรับปรุงการแสดงได้อย่างเหมาะสม
(ศ 3.1 ม.2/4)
-
เชื่อมโยงการเรียนรู้ระหว่างนาฏศิลป์และการละครกับสาระการเรียนรู้อื่น(ศ
3.1 ม.2/5)
-
นำเสนอแนวคิดจากเนื้อเรื่องของการแสดงที่สามารถนำไปปรับใช้ในชีวิตประจำวัน
(ศ
3.1
ม.3/7)
-
ระบุประโยชน์ที่ได้รับจากการแสดงหรือชมนาฏศิลป์และการละคร (ศ 3.2
ป.6/2)
|
|